การรักษา ของ กาแล็กโทซีเมีย

การรักษาวิธีเดียวสำหรับคลาสสิกกาแล็กโทซีเมีย (classic galactosemia) คือการกำจัดแล็กโทสและกาแล็กโทสออกจากการรับประทานอาหาร ถึงแม้จะมีการจรวจพบโรคที่ทันท่วงทีและมีการจำกัดการทานอาหารทั้งสองชนิดแล้ว ในบางราย ผู้ป่วยอาจมีอาการของกาแล็กโทซีเมียในระยะยาว เช่น พูดลำบาก (speech difficulties), เรียนรู้ลำบาก (learning disabilities), ความไม่สมประกอบทางประสาท (neurological impairment) เช่น อาการสั่น (tremors) และภาวะรังไข่วาย (ovarian failure) ทารกที่มีคลาสสิกกาแล็กโทซีเมียจะไม่สามารถดื่มนมผ่านเต้านม (breast-fed) ได้ เนื่องด้วยในน้ำนมมนุษย์มีแล็กโตส จึงทำให้ต้องดื่มนมสูตรที่ใช้ถั่วเหลืองแทน[6]

กาแล็กโทซีเมียมักถูกสับสนกับภาวะย่อยน้ำตาลแลคโตสผิดปกติ (lactose intolerance) แต่กาแล็กโทซีเมียนั้นถือเป็นโรคที่ร้ายแรงกว่ามาก ด้วยอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายในระยะยาว ในขณะที่ภาวะแพ้แลกโตสก่อให้เกิดอาการปวดท้องหรือปัญหาในการขับถ่ายเท่านั้น

อาการแทรกซ้อนในระยะยาวของกาแลกโทซีเมียได้แก่

ใกล้เคียง

กาแล็กซี่เอ็กซ์เพรส 999 กาแล็กโทซีเมีย กาแล็กโทส กาแล็กติกอามส์เรซ กาแล็กซีซูเปอร์โนวา กาแล็กซี กาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีอันโดรเมดา กาแล็กซีแบบกังหัน กาแล็กซีแคระ

แหล่งที่มา

WikiPedia: กาแล็กโทซีเมีย http://www.diseasesdatabase.com/ddb29829.htm http://www.diseasesdatabase.com/ddb29842.htm http://www.diseasesdatabase.com/ddb5056.htm http://www.emedicine.com/ped/topic818.htm http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=271.... http://learn.genetics.utah.edu/content/disorders/s... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10439960 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/13311516 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1706789 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19904210