กุ่ย
กุ่ย

กุ่ย

กุ่ย (จีน: 圭; พินอิน: Guǐ) คือ แผ่นหยก ซึ่งใช้เป็นสัญญาลักษณ์มงคลและเครื่องสักการะบูชาที่ใช้สำหรับบวงสรวงในศาสนาชาวบ้านจีนและใช้สำหรับจักรพรรดิ, จักรพรรดินี, เจ้าแคว้น, พระราชอัครมเหสี, พระอัครมเหสี, พระมเหสี, พระสนม และพระบรมวงศานุวงศ์เท่านั้น ในบรรดาเครื่องหยก เป็นสัญญาลักษณ์เครื่องบูชาหลักคือทิศตะวันออก[1] แผ่นหยก ของจักรพรรดิ, เจ้าแคว้น เรียกว่า เจิ้นกุ่ย (镇圭) โดยด้านหน้าสลักด้วยลวดลายภูเขาทาสีทองสี่อัน ซึ่งเรียงกันขึ้น ลง ซ้ายและขวา เป็นสัญลักษณ์ของภูเขาของสี่เมืองทางทิศใต้ ทิศใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และ แสดงความหมายว่า "ประเทศอยู่ในการควบคุมและสี่ด้านมีเสถียรภาพ" (江山在握,安定四方) โดยคาบสมุทรเกาหลี อาณาจักรรีวกีว และไดเวียดซึ่งรับวัฒนธรรมและธรรมเนียมจากจีนโบราณอย่างเข้มข้นล้วนใช้แผ่นหยกในพิธีกรรมของราชสำนักเช่นเดียวกัน

กุ่ย

ความหมายตามตัวอักษร ป้ายอาญาสิทธิ์
ป้ายสำหรับบวงสรวง
ภาษาจีน
การถอดเสียงภาษาจีนกลางมาตรฐานฮั่นยฺหวี่พินอิน
การถอดเสียง
ภาษาจีนกลางมาตรฐาน
ฮั่นยฺหวี่พินอินGuǐ
ฮั่นยฺหวี่พินอิน Guǐ