งานการเมือง ของ ธรรมนัส_พรหมเผ่า

ธรรมนัสเริ่มงานการเมืองกับพรรคไทยรักไทยเมื่อปี พ.ศ. 2542 ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 ได้ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทย[13] แต่การเลือกตั้งดังกล่าวเป็นโมฆะ[14] ต่อมาเมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้ายึดอำนาจ เขาเป็นหนึ่งในบุคคลที่ คสช. มีคำสั่งเรียกมารายงานตัว[15] ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 ธรรมนัสได้เข้าร่วมกับพรรคพลังประชารัฐ โดยได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการยุทธศาสตร์ภาคเหนือของพรรค และได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา เขตที่ 1 โดยชนะอรุณี ชำนาญยา เจ้าของพื้นที่เดิมจากพรรคเพื่อไทย[16]

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 1 สมัย คือ

  1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 จังหวัดพะเยา สังกัดพรรคพลังประชารัฐ

ใกล้เคียง

ธรรมนัส พรหมเผ่า ธรรมนูญเวสต์มินสเตอร์ (ค.ศ. 1931) ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญ เทียนเงิน ธรรมนูญ 08 ธรรมนูญ ทัศโน ธรรมนูญ ฤทธิมณี ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ธรรมนูญแคลเร็นดอน ธรรมนูญผู้ใช้แรงงาน ค.ศ. 1351

แหล่งที่มา

WikiPedia: ธรรมนัส_พรหมเผ่า http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/A/... https://thestandard.co/thammanat-education/ https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/634423 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/584226 https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/1746... https://www.bbc.com/thai/thailand-49650016 https://www.bbc.com/thai/thailand-49711668 https://www.facebook.com/ThamanatPhayao https://www.nytimes.com/reuters/2019/09/10/world/a... https://www.isranews.org/investigative/investigate...