การบูชา ของ นางกวัก

แม้นางกวักจะมีพื้นฐานมาจากศาสนาผีซึ่งเป็นศาสนาพื้นเมืองดั้งเดิมของไทย แต่ก็ได้รับการเคารพนับถือยิ่งโดยเฉพาะในหมู่พ่อค้าแม่ค้าที่เป็นพุทธศาสนิกชน เพราะเชื่อว่านางกวักจะกวักเรียกลูกค้าให้เข้ามาอุดหนุนสินค้าเปรียบดั่งการกวักเงินกวักทองมาให้[2][3] รวมไปถึงคติเมตตามหานิยม ดลบันดาลให้คนที่เกลียดกลับมารัก[6][7]

ผู้คนที่นับถือจะนำรูปปั้นนางกวักตั้งไว้บนหิ้งหรือมุมใดมุมหนึ่งของร้านค้า มีการถวายน้ำแดงและพวงมาลัยไปเซ่นไหว้[5]

ใกล้เคียง

แหล่งที่มา

WikiPedia: นางกวัก http://www.museum-press.com/content-%E2%80%9C%E0%B... http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/100881 http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/148390 http://www.museumsiam.org/da-detail.php?MID=3&CID=... http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/rosita.htm http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/54841... https://www.sarakadee.com/2018/11/28/nang-kwak/ https://www.sentangsedtee.com/exclusive/article_54... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Nang_K... https://www.dailynews.co.th/article/205225