การดัดแปลง ของ ผู้ชนะสิบทิศ

ผู้ชนะสิบทิศ ถูกนำไปสร้างเป็น ละครเวที ละครวิทยุ ละครโทรทัศน์[2] และ ภาพยนตร์ มาแล้วหลายครั้ง ได้แก่

ภาพยนตร์

ในระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2510 ผู้ชนะสิบทิศสร้างครั้งแรกเป็นภาพยนตร์ไตรภาค ในระบบถ่ายทำ 16 มม. สร้างโดย เจ้าพระยาภาพยนตร์ อำนวยการสร้างโดย เฑียรร์ กรรณสูต กำกับการแสดงโดย เนรมิต บทภาพยนตร์โดย พงศ์ อำมาตย์, อนุมาศ บุนนาค, เจน จำรัสศิลป์ ถ่ายภาพโดย อนันต์ อินละออ เนื้อเรื่องแบ่งเป็น 3 ภาค ดังนี้

ยอดอดขุนพล (2509)บุเรงนองลั่นกลองรบ (2510)บุเรงนองถล่มหงสาวดี (2510)
ชื่อตอนวันที่เข้าฉายโรงภาพยนตร์ความยาว
ยอดขุนพล8 เมษายน พ.ศ. 2509แกรนด์ วังบูรพา145 นาที
บุเรงนองลั่นกลองรบ15 เมษายน พ.ศ. 2510ศาลาเฉลิมกรุง131 นาที
บุเรงนองถล่มหงสาวดี7 กันยายน พ.ศ. 2510ศาลาเฉลิมกรุง143 นาที
นักแสดง
ตัวละครยอดขุนพลบุเรงนองลั่นกลองรบบุเรงนองถล่มหงสาวดี
จะเด็ดไชยา สุริยัน [3]
มังตราประจวบ ฤกษ์ยามดี
ตะละแม่จันทรากรุณา ยุวกร
ตะละแม่กุสุมาพิศมัย วิไลศักดิ์
ตะละแม่อเทตยาเอื้อมเดือน อัษฎา [4]
มินบูแก่นใจ มีนะกนิษฐ์
กันทิมาเมตตา รุ่งรัตน์
ตะละแม่นันทวดีบุศรา นฤมิตร
เมงกะยินโยทัต เอกทัต (ประวัติ ผิวเผือก)
เลาชีศรินทิพย์ ศิริวรรณ
จาเลงกะโบชนะ ศรีอุบล
เนงบาอดินันท์ สิงห์หิรัญ
สีอ่องรุจน์ รณภพ
สอพินยาแมน ธีระพล
ไขลูสมพล กงสุวรรณ
มหาเถรกุโสดอหม่อมหลวงรุจิรา อิศรางกูร

ร่วมด้วย อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา, มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา, สมควร กระจ่างศาสตร์, สาหัส บุญหลง, ถนอม อัครเศรณี, ชาลี อินทรวิจิตร, เชาว์ แคล่วคล่อง, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม, เมืองเริง ปัทมินทร์, สิงห์ มิลินทราศัย [5]

ในการฉายเป็นภาพยนตร์นั้น มีเพลงประกอบที่เป็นที่รู้จักและยังติดอยู่ในความทรงจำตราบจนปัจจุบัน 2 เพลง คือ "บุเรงนองลั่นกลองรบ" ขับร้องโดย สุเทพ วงศ์กำแหง และ "ผู้ชนะสิบทิศ" ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร

เพลงบุเรงนองลั่นกลองรบนั้นทำดนตรีใหม่ให้เป็นดนตรีร่วมสมัยมากขึ้น แต่ยังคงเนื้อร้องเดิมอยู่ โดย กษาปณ์ จำปาดิบ ในปี พ.ศ. 2538 และยืนยง โอภากุล ในปี พ.ศ. 2549

ละครโทรทัศน์

ผู้ชนะสิบทิศมีการสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้งและเมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 โมเดิร์นไนน์ทีวี มีโครงการสร้างเป็นละครอีกครั้ง โดยประกาศหานักแสดงนำฝ่ายชายสำหรับบทจะเด็ด แต่ยกเลิกไป เนื่องจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ หลังเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549[6]

อย่างไรก็ดี ผู้ชนะสิบทิศ เป็นนิยายที่ว่าถึง กษัตริย์พม่าองค์ที่สามารถชนะเอกราชของกรุงศรีอยุธยาได้ จึงเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์เสมอ ๆ เมื่อจะสร้างเป็นละครหรือภาพยนตร์แต่ละครั้ง[7]

รายชื่อนักแสดงและการสร้าง
ปีพ.ศ. 2501พ.ศ. 2504พ.ศ. 2514พ.ศ. 2523พ.ศ. 2526พ.ศ. 2532-33พ.ศ. 2556
สถานีออกอากาศละคร ช่อง 4 บางขุนพรหมละคร ช่อง 4 บางขุนพรหมละคร ช่อง 4 บางขุนพรหมละคร ช่อง 9ละคร ช่อง 5ละคร ช่อง 3ละคร ช่อง 8
ผู้จัดละครกนกวรรณ ด่านอุดมบริษัท ศรีคำรุ้ง โปรดักชั่น จำกัด
วันเวลาออกอากาศจันทร์-พฤหัสบดี หลังข่าวภาคค่ำวันจันทร์ – วันพุธ เวลา 20.00 น.
ผู้กำกับการแสดงพิศาล อัครเศรณีคุณากร เศรษฐี
ผู้ขับร้องเพลงนำอาเธอร์ ปัญญะโชติณัฐพนธ์ วงษ์สนิท
นักแสดงหลัก
จะเด็ด / มังฉงาย / บุเรงนองกะยอดินนรธา / ปะหยิ่นหน่าวประกอบ ไชยพิพัฒน์ชรินทร์ นันทนาครอัศวิน รัตนประชานิรุตติ์ ศิริจรรยาสมชาติ ประชาไทยสันติสุข พรหมศิริรัฐภูมิ โตคงทรัพย์
ตะละแม่จันทราดาเรศ สาตะจันทร์ศศิมา สิงห์สิรินันทวัน เมฆใหญ่ดวงใจ หทัยกาญจน์นาถยา แดงบุหงาปริศนา กัมพูสิริ
มังตรา / ตะเบงชเวตี้ / ตะปิ่นชเวตีพิศาล อัครเศรณีอัศวิน รัตนประชาไตรภพ ลิมปพัทธ์จิระ ด่านบวรเกียรติ
ตะละแม่กุสุมาทรงศรี เทวคุปต์สวลี ผกาพันธ์ทิวาพร กาญจนารมณ์กนกวรรณ ด่านอุดมพิมพ์ใจ พรหมมาลีสินจัย หงส์ไทยวัลเณซ่า เมืองโคตร
สอพินยาสุประวัติ ปัทมสูตรศานติ สันติเวชกุลปรมะ อิ่มอโนทัย
ตะละเจ้ามุกอายเดือนเต็ม สาลิตุล
อเทตยากรรณิกา ธรรมเกษร
กันทิมา / นาคะตะเชโบโขมพัตร อรรถยาธัญญา โสภณณปภัช วัฒนากมลวุฒิ
โชอั้วสุมาลี ชาญภูมิดล

ละครวิทยุ

  • รายการ วรรณกรรมทางอากาศ จัดโดย อาคม ธรรม์นิเทศ ทางสถานีวิทยุ 01 มีนบุรี เอเอ็ม 945 ราว พ.ศ. 2530 - 2540
  • ละครวิทยุ เอเอ็ม พ.ศ. 2554
  • คณะสยาม 81 ทางสถานีวิทยุ วพท.เอเอ็ม 792 เวลา 8.30 - 9.00 น. เริ่มเดือนกันยายน พ.ศ. 2555

ใกล้เคียง

ผู้ชนะสิบทิศ ผู้ชนะสิบทิศ (เพลง) ผู้ชนะย่อมไม่เสพยา ผู้ชนะเลิศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ผู้ผนึกมาร ผู้นำฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ผู้ชาย