อ้างอิง ของ พระปัจเจกพุทธเจ้า

  1. "ปัจเจกพุทธะ"
    ปัจเจกพุทธะ [ปัดเจกกะ-] น. ชื่อพระพุทธเจ้าพวกหนึ่งที่ตรัสรู้เฉพาะตัว มิได้สั่งสอนผู้อื่น. (ป.). แม่คำของ "ปัจเจกพุทธะ" คือ ปัจเจก ปัจเจก- โดย ฉบับราชบัณฑิต.,[ปัจเจกสัมพุทโธ (ปัด-เจก-กะ-สัม-พุด-โท) ก็ว่า จากพระไตรปิฎก ฉบับภาษาบาลี เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๒๕๐],
  2. ความหมายใน ฉบับประมวลศัพท์. ว่าคือ วิสุทธิเทพ,ปัจเจกโพธิสัมพุทธมหาเจดีย์ ว่าด้วยเรื่องพระปรางค์สีม่วง.,สารานุกรมฉบับกาญจนาภิเษก
  3. วิทยานิพนธ์ฯ บัณฑิตวิทยาลัยฯ พระครูวินัยธรภิรม กลฺยาโณ (ชื่นบาน), และมิลินทปัญหา อัปโปสุกตภาวปัญหา ที่ ๘,
  4. ไม่ต่ำกว่านั้น แม้ในสัทธา และวิริยาธิกะ เลยกำหนดไปกว่าเล็กน้อย แต่ไม่เกินไปกว่าอสงไขย ๓,มาใน พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล ฉบับพิมพ์ ๙๑ เล่ม เล่มที่ ๕๐ หน้าที่ ๑๘ บรรทัดที่ ๑๘
  5. ฉบับ มมร เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๑๕๕ แสดงเรื่องพระปัจเจกพุทธเจ้า จะสั่งสอนให้สุสิมมาณพให้ได้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วย แต่ว่าจะต้องบรรพชาซะก่อน
  6. ในชั้นที่ลึกซึ้ง ว่า หมายถึง พระปัจเจกพุทธเจ้าไม่อาจกระทำพุทธพยากรณ์ด้วยกาล และด้วยกรณีย์กิจในเหตุนั้นๆ[ต้องการอ้างอิง]
  7. การนับเวลาประสูติกาล ให้นับในประเพณีที่นับวันประสูติด้วยการนับเวลาตั้งแต่ระยะกาลแห่งแรกปฏิสนธิ ซึ่งมีมาทั้งในอินเดียโบราณ และทั้งประเพณีจีน[ต้องการอ้างอิง]
  8. พระปัจเจกโพธิสัตว์อภิเษกพระปัจเจกสัมมาสัมโพธิญาณแล้วจากทุกๆสาขาอาชีพถึงเป็นนายพรานก็มี แต่ความมีปรากฏมาในชั้นอรรถกถา ด้วยนัยที่ได้กล่าวแต่หลักฐานในชั้นแรกๆก่อน ใจความข้อนี้ถึงได้เลือนๆไป จนถึงกะว่าไม่มีก็มีในผู้ที่ถือเข้าเฉพาะหลักในสำนักที่ไม่ถือและไม่นับบทธรรมที่มาในอรรถกถา ฉะนั้นจึงพอแต่อ้างอิงไว้เป็นแต่เพียงข้อสังเกตฯ ว่าพระชาติเมื่อจะอภิเษกด้วยพระปัจเจกธรรมถึงด้วยพระปัจเจกสัมมาสัมโพธิญาณนั้น ว่าพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งนั้น ดังนั้นมีมาด้วยทุกแห่ง และอาจเป็นได้จากทุกๆอาชีพ ดังพอปรากฏหลักฐาน(มาในอรรถกถา)บ้าง ดังนี้
    พระปัจเจกพุทธเจ้า พระชาตินายช่างกัลบก
    พระปัจเจกพุทธเจ้า พระชาตินายพราน ได้รับคำสอนจากพระโพธิสัตว์พระชาตินกยูงทอง
    พระปัจเจกพุทธเจ้า พระชาติชาวไร่ ,นักเดินทาง ,คนจ่ายตลาด ,นายอำเภอ
  9. หมายถึงการได้เป็นธรรมาจารย์ คือผู้สั่งสอน ปรากฏในพจนานุกรม ฉบับประมวลศัพท์ ว่า
    ผู้ที่ถูกตั้งเป็นอาจารย์นั้น มี ๔ อย่าง คือ
    ๑) บัพพชาจารย์ หรือ บรรพชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา
    ๒) อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท
    ๓) นิสสยาจารย์ อาจารย์ผู้ให้นิสสัย
    ๔) อุทเทศาจารย์ หรือ ธรรมาจารย์ อาจารย์ผู้สอนธรรม
  10. หมายถึงในเบญจคีรีบรรพต ๕ ยอดภูเขา แต่ภูเขา ๑ในห้าแห่งภูเขานั้น เรียกว่า “คิลิ” ซึ่งหมายถึงที่มีมาในอิสิคิลิสูตร แล้วนั้น
    เรื่องเคยมีมาแล้ว เรื่องพระปัจเจกพุทธเจ้า,พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๑ - ข้อที่ ๒๔๙ ถึง ๒๕๑ ใน อิสิคิลิสูตรที่ ๖
  11. มีคำเปรียบถึงความรู้ของพระปัจเจกพระพุทธเจ้า ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ว่า “ ญาณของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นกับ ‘ แสงพระจันทร์ ’ ญาณของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นกับแสงสุริยมณฑลพันดวง ” (ในอรหันตสาวก เช่น แสงดาว)
    พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๑ - จากฉบับพร้อมอรรถกถาแปล เล่มที่ 13 หน้า 71.
ประเภทของพุทธะ
พระพุทธเจ้าในอดีต
(ตามคัมภีร์พุทธวงศ์)
พระพุทธเจ้าในปัจจุบัน
พระพุทธเจ้าในอนาคต
(ตามคัมภีร์อนาคตวงศ์)
พระธยานิพุทธะตามคติมหายาน
พระพุทธเจ้าองค์อื่นๆ
ตามคติมหายาน

ใกล้เคียง

พระปัจเจกพุทธเจ้า พระปัญญาวชิรโมลี (นพพร ธีรปญฺโญ) พระปัญญาพิศาลเถร (ทูล ขิปฺปปญฺโญ) พระปัญจสิขะ พระปัทมปาณิโพธิสัตว์ พระปัปผาสะอักเสบ พระปัปผาสะ พระสันตะปาปา พระลักษมี พระปรางค์สามยอด

แหล่งที่มา

WikiPedia: พระปัจเจกพุทธเจ้า http://etipitaka.com/read/thaimm/50/18/ http://pratripitaka.com/tripitaka-mbu/ebook-tripit... http://www.tripitaka91.com/43-155-12.htm http://dhanapattipalo.wikidot.com/phra-asada-maha-... http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1... http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1... http://84000.org/tipitaka/milin/milin.php?i=122 http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=32&A... http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=3647&Z... http://www.84000.org/tipitaka/attha/jataka.php?i=2...