พายุที่เป็นที่รู้จักและผลกระทบ ของ พายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกใต้

พายุโซนร้อนที่แองโกลา พ.ศ. 2534

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 14 เมษายน พ.ศ. 2534
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุเฮอร์ริเคนกาตารีนา

พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา24 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2547
ความรุนแรง155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
972 hPa (mbar)

พายุโซนร้อนอะนีตา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 12 มีนาคม พ.ศ. 2553
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
995 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนอารานี

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 16 มีนาคม พ.ศ. 2554
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
989 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนบาปู

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา5 – 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
992 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนการี

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2558
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
998 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนเดนี

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
998 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนเอซาอี

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา4 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
992 hPa (mbar)

พายุกึ่งโซนร้อนกวารา

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา9 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
996 hPa (mbar)

พายุโซนร้อนอีบา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา23 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2562
ความรุนแรง85 กม./ชม. (55 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
1006 hPa (mbar)

เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2562 พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในร่องมรสุม บริเวณนอกชายฝั่งรัฐบาเอีย ประเทศบราซิล[12][13] วันต่อมา พายุดีเปรสชันเขตร้อนได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน และได้รับชื่อ อีบา (Iba) จากศูนย์อุทกศาสตร์ กองทัพเรือบราซิล ทำให้พายุนี้กลายเป็นระบบพายุโซนร้อนที่ก่อตัวขึ้นภายในแอ่ง นับตั้งแต่พายุโซนร้อนอะนีตาเมื่อปี พ.ศ. 2553 และกลายเป็นพายุลูกแรกที่ได้รับชื่อจากชุดรายชื่อของบราซิลด้วย[14]

พายุกึ่งโซนร้อนฌากัวร์

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
1010 hPa (mbar)

เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของริโอเดจาเนโร ต่อมาได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุกึ่งโซนร้อน และได้รับชื่อว่า ฌากัวร์ (Jaguar) จากศูนย์อุทกศาสตร์ กองทัพเรือบราซิล[15]

พายุกึ่งโซนร้อนกูรูมี

พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา23 – 25 มกราคม พ.ศ. 2563
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
998 hPa (mbar)


ใกล้เคียง

พายุหมุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกใต้ พายุหมุนเขตร้อนใน พ.ศ. 2562 พายุหมุนหลังเขตร้อน พายุหิมะในประเทศอิหร่าน ค.ศ. 1972 พายุหมุนนอกเขตร้อน พายุหลี่ผี พายุหนองฟ้า พายุหีนหนามหน่อ พายุหยินซิ่ง

แหล่งที่มา

WikiPedia: พายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกใต้ http://img0.cptec.inpe.br/~rgptimg/Produtos-Pagina... //www.amazon.com/dp/B0006BM85S http://australiasevereweather.com/cyclones/2004/su... http://australiasevereweather.com/cyclones/2004/su... http://australiasevereweather.com/cyclones/2009/su... http://www.australiasevereweather.com/cyclones/201... http://adsabs.harvard.edu/abs/2012JCli...25.7328E http://cimss.ssec.wisc.edu/goes/blog/archives/4659 http://www.aoml.noaa.gov/hrd/tcfaq/A15.html http://www.aoml.noaa.gov/hrd/tcfaq/G6.html