เมทริกซ์และพีชคณิตแบบบานัค ของ ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง

นิยามอนุกรมกำลังของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง สามารถเข้าใจได้ว่าเป็นเมทริกซ์จัตุรัส (สำหรับฟังก์ชันที่เรียกว่าเมทริกซ์เลขชี้กำลัง) และเป็นแนวคิดทั่วไปยิ่งขึ้นในพีชคณิตแบบบานัค B ในการกำหนดเช่นนี้ e0 = 1 และ ex จะมีตัวผกผันนั่นคือ e−x สำหรับ x ใด ๆ ใน B; ถ้า xy = yx ดังนั้น e x + y = e x e y {\displaystyle e^{x+y}=e^{x}e^{y}} แต่เอกลักษณ์นี้อาจใช้ไม่ได้ถ้า x และ y ไม่สามารถสลับที่ได้

การนิยามแบบอื่นก็นำไปสู่ฟังก์ชันเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ex สามารถนิยามเป็น lim n → ∞ ( 1 + x n ) n {\displaystyle \textstyle \lim _{n\to \infty }\left(1+{\frac {x}{n}}\right)^{n}} หรือนิยามเป็น f(1) เมื่อ f : R→B เป็นคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ f ′(t) = xf(t) โดยมีเงื่อนไขเริ่มต้นว่า f(0) = 1

ใกล้เคียง

ฟังก์ ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน ฟังก์ชัน (คณิตศาสตร์) ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันแกมมา ฟังก์ชันนับจำนวนเฉพาะ ฟังก์ชันเลียปูนอฟ ฟังก์ชันแฮช ฟังก์เมทัล

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง http://www.efunda.com http://www.efunda.com/math/taylor_series/exponenti... http://math.sripisai.kkutime.com/jame/addm5-1.pdf http://mathworld.wolfram.com/ExponentialFunction.h... http://www-math.mit.edu/daimp/ComplexExponential.h... http://planetmath.org/?op=getobj&from=objects&id=6... http://planetmath.org/?op=getobj&from=objects&id=9... http://sympl.org/book/examples/interactive-plots/d... http://www-history.mcs.st-andrews.ac.uk/HistTopics...