การประยุกต์ใช้งาน ของ ภาคตัดกรวย

ภาคตัดกรวยนั้นได้มีความสำคัญต่อดาราศาสตร์ โดย วงโคจรของวัตถุสองชิ้นซึ่งมีแรงดึงดูดกระทำต่อกัน ตามกฎของนิวตัน นั้นจะมีรูปร่างเป็นภาคตัดกรวย หากจุดศูนย์กลางมวล (center of mass) ร่วมของทั้งสองวัตถุนั้นอยู่นิ่ง หากทั้งสองนั้นถูกดึงดูดอยู่ด้วยกัน ทางเดินของทั้งสองนั้นจะเป็นรูปวงรี หากวัตถุทั้งสองวิ่งออกจากกัน ทางเดินจะเป็นรูปพาราโบลา หรือ ไฮเปอร์โบลา ดู ปัญหาหลายวัตถุ

ในเรขาคณิตเชิงภาพฉาย (projective geometry) นั้น ภาพฉายบนระนาบ ของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้นจะเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉาย หรือที่เรียกว่า การแปลงเชิงภาพฉาย (projective transformation)

สำหรับการประยุกต์ใช้งานเฉพาะของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้น ดูที่บทความ วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอร์โบลา

แหล่งที่มา

WikiPedia: ภาคตัดกรวย http://britton.disted.camosun.bc.ca/jbconics.htm http://www.mathacademy.com/pr/prime/articles/conic... http://www.mathworks.com/matlabcentral/fileexchang... http://mathworld.wolfram.com/ConicSection.html http://math.fullerton.edu/mathews/n2003/ConicFitMo... http://math.kennesaw.edu/~mdevilli/JavaGSPLinks.ht... http://math.kennesaw.edu/~mdevilli/eightpointconic... http://www.cut-the-knot.org http://www.cut-the-knot.org/proofs/conics.shtml http://www.geogebra.org/en/upload/files/nikenuke/c...