ศัพทมูลและการใช้คำ ของ ภาวะความเป็นชายเป็นพิษ

คำว่า toxic masculinity มีพื้นเพมาจากการเคลื่อนไหวผู้ชายกลุ่มตำนานและกวี ในทศวรรษ 1980s และ 1990s[4] ก่อนที่จะมีการใช้อย่างกว้างขวางในงานเขียน[5] การพูดคุยเกี่ยวกับแนวคิดนี้ในสื่อเป็นที่นิยมขึ้นมาในทศวรรษ 2010s นั้นใช้สื่อถึงบรรทัดฐานทางสังคมต่อความเป็นชายเหมารวมแบบดั้งเดิม นักสังคมวิทยา ไมเคิล ฟลัด ระบุว่านี่รวมถึง "ความคาดหวังต่อเด็กผู้ชายว่าต้องกระตือรือร้น, โกรธเกรี้ยว, ทนทาน, กล้าหาญ และเป็นใหญ่"[6]

ใกล้เคียง

ภาวะคู่หรือคี่ของ 0 ภาวะคอเลสเตอรอลสูงในเลือด ภาวะความเป็นชายเป็นพิษ ภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์) ภาวะคู่กันปวงกาเร ภาวะคอนเวกซ์ (เศรษฐศาสตร์) ภาวะความดันเลือดสูง ภาวะคันต่างที่ ภาวะคาร์บอนมอนอกไซด์พิษ ภาวะคิดว่าตนเขื่อง

แหล่งที่มา

WikiPedia: ภาวะความเป็นชายเป็นพิษ http://www.salon.com/2015/06/12/toxic_masculinity_... http://www.salon.com/2016/07/04/toxic_masculinity_... http://www2.clarku.edu/faculty/addis/menscoping/fi... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/15732091 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27869454 http://www.apa.org/pubs/journals/releases/cou-cou0... //doi.org/10.1002%2Fjclp.20099 //doi.org/10.1037%2F0735-7028.27.3.259 //doi.org/10.1037%2Fcou0000176 //doi.org/10.1080%2F14680777.2016.1120490