ระบบการเขียน ของ ภาษากฺ๋อง

ตัวเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
/k/ตะกร้า
วุ๋หนู
กฺ/ɡ/กฺองม้า
/kʰ/ค๋นกยูง
/x/ฆ๋เข็ม
/ŋ/ห้า
ดุ๋ทุลำห้วย
/c/จี๋เก้ง
/cʰ/ช๋กิ้งก่า
/s/ซีล้าง
/ɲ/เบ็ดตกปลา
/d/ดืเสือ
/t/ต๋องข้อง
/tʰ/ท๋องตุ่น
/n/นั๋ตั๊กแตน
/b/บ๋ครก
/p/าเท้งรองเท้า
/pʰ/พูหม้อ
/f/ฟ๋เกวียน
/m/มึ๋วัว
/j/ยึ๋บ้าน
/l/ล๋าะนิ้ว
/w/วั๋หมี
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)อ๋กวาง
ไม่มีรูป/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)เค๋าะนก
/h/ฮิ๋ทองคำ
  • พยัญชนะไม่เปลี่ยนรูปเมื่อผันวรรณยุกต์
สระ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
–ะ/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)ฆ๋เข็ม
–ั/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/)วั๋หมี
–า/a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)อ๋กวาง
–ิ/i/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)นิแทรก
–ี/i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)จี๋เก้ง
–ึ/ɨ/มึ๋วัว
–ือํ/ʉ/คือํหมา
–ุ/u/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)วุ๋หนู
–ู/u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)ลาบู้ผีเสื้อ
เ–ะ/e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)มา
กาเว็เที่ยว
ก๋กขวัญ
เ–/e/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)ม้าม
เํ–/ø/เํยงเสื้อ
แ–ะ/ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)ม๋แม่
แล็ท๋หอยขม
อาค่งอะไร
แ–/ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)สิบ
แํ–ะ/แํ–/œ/แํฮ๋รัก
เ–อะ/เ–ิ/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)เซิ่สีดำ
เ–อ/ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)เพื่อน
เํ–ิ/ʌ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/)เํดิ๋สะอึก
โ–ะ/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)ว๋ไก่
โ–ะ (ลดรูป)/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/)บ๋กครก
โ–/o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)คน
โ–ะํ/ʊ/พ๋ะํหมู
เ–าะ/ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)ล๋นิ้ว
–อ/ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/)ม่ทา, เมา
กฺ่แสบ
เ–ีย/i̯a/ลี่ยอร่อย
เ–ือ/ɨ̯a/เคื๋อตัวต่อ
–ัว/u̯ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)ซัวกิน
–ว/u̯ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)คูดหมวก
วรรณยุกต์
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ไม่มีรูปหน่วยเสียงกลางระดับอองเทียน
–่หน่วยเสียงต่ำ-ตกบ่ตี
–้หน่วยเสียงสูง-ตกกฺ้องสูง
–๋หน่วยเสียงกลาง-ตก-ขึ้นอิ๋ไม้
ยึ๋บ้าน