ภาษาฮาจอง
ภาษาฮาจอง

ภาษาฮาจอง

ภาษาฮาจอง เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน[3] ที่มีอิทธิพลมาจากตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า[4][5] พูดโดยชาวฮาจองประมาณ 80,000 คนทั่วอนุทวีปอินเดียตะวันออกเเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในรัฐอัสสัม รัฐเมฆาลัย รัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในอินเดีย และภาคมัยมันสิงห์กับภาคสิเลฏในบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกอลแบบอัสสัมและอักษรละติน[2] ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาสันสกฤตจำนวนมาก เดิมภาษานี้เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า แต่ได้ผสมลักษณะทางภาษาศาสตร์จากภาษาเบงกอลและภาษาอัสสัม[6]

ภาษาฮาจอง

ภูมิภาค รัฐเมฆาลัย, รัฐอัสสัม, รัฐมิโซรัม, รัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดียมัยมันสิงห์, Sherpur, Netrokona และ Sunamganj ในประเทศบังกลาเทศ
ตระกูลภาษา
จำนวนผู้พูด 71,800  (2011)e22
8,000 ในบังกลาเทศ (ไม่มีวันที่)[1]
ISO 639-3 haj
ชาติพันธุ์ ชาวฮาจอง
ภาษาถิ่น
Doskina'
Korebari
Susung'ya'
Barohajarya'
Mespa'rya'
ระบบการเขียน อักษรเบงกอล-อัสสัม, อักษรละติน[2]
ออกเสียง [ha.dʒɔŋ]
ประเทศที่มีการพูด อินเดียและบังกลาเทศ