ยุทธการที่แวลเบิชด์

โจวัน โอลิเวอร์ทหารชาวบัลแกเรีย 43,000 นาย[3] กองทหารรับจ้าง 12,000 นาย[4]ทหารชาวเซอร์เบีย 35,000 นาย, ทหารชาวเยอรมัน 2,000 นาย และ ทหารรับจ้างชาวอิตาลี 3,000 นายจากอาณาจักรนาโปลี [4]ยุทธการที่แวลเบิซด์ (บัลแกเรีย: битка при Велбъжд ; เซอร์เบีย: Битка код Велбужда) เป็นยุทธการระหว่างกองทัพบัลแกเรียและเซอร์เบียในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1330 ใกล้กับเมืองแวลเวิซด์ ปัจจุบันคือเมืองคยูสเทนดิล[5]การขยายอำนาจและความรุ่งเรืองของอาณาจักรเซอร์เบีย ทำให้มหาอำนาจอื่นในคาบสมุทรบอลข่านเริ่มมีความกังวล โดยจักรวรรดิไบแซนไทน์และบัลแกเรียตกลงที่จะดำเนินยุทธการทางทหารร่วมกันเพื่อต่อต้านเซอร์เบียในปี ค.ศ. 1327[6] 3 ปีต่อมากองทัพเซอร์เบียและบัลแกเรียปะทะกันที่แวลเบิชด์ ชัยชนะของเซอร์เบียในครั้งนี้ทำให้สมดุลของอำนาจในคาบสมุทรบอลข่านเปลี่ยนไป 2 ทศวรรษ แม้ว่าบัลแกเรียจะไม่เสียดินแดนใดจากยุทธการครั้งนี้ แต่ก็ไม่สามารถหยุดยั้งกองทัพเซอร์เบียในการพิชิตมาซิโดเนียได้ ส่งผลให้เซอร์เบียสามารถขยายอำนาจเข้าสู่มาซิโดเนีย และดินแดนของเซอร์เบียก็ขยายอำนาจได้กว้างไกลที่สุด พระเจ้าสเตฟาน อูรอสที่ 4 แห่งเซอร์เบีย จึงสถานาตนเองขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิด้วยความช่วยเหลือเชิงพิธีการจากบัลแกเรียในปี ค.ศ. 1346อย่างไรก็ตาม ทศวรรษหลังจากนั้น ในปี ค.ศ. 1355 พระเจ้าสเตฟาน อูรอสที่ 4 สวรรคต จักรวรรดิของพระองค์ก็แตกออกจากกัน คล้ายคลึงกับที่เกิดขึ้นในบัลแกเรียเมื่อพระเจ้าซาร์อีวาน อเล็กซานเดอร์แห่งบัลแกเรียสวรรคตในปี ค.ศ. 1371 ดินแดนทั้ง 2 ถูกจักรวรรดิออตโตมันเข้ายึดครองในเวลาต่อมา

ยุทธการที่แวลเบิชด์

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่28 กรกฎาคม 1330
สถานที่คยูสเทนดิล
ผลลัพธ์เซอร์เบียได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด
สถานที่ คยูสเทนดิล
ผลลัพธ์ เซอร์เบียได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด
วันที่ 28 กรกฎาคม 1330

ใกล้เคียง

ยุทธการที่เดียนเบียนฟู ยุทธการที่มอสโก ยุทธการที่อิเหลง ยุทธการที่ฝรั่งเศส ยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ ยุทธการที่สตาลินกราด ยุทธการที่เกตตีสเบิร์ก ยุทธการที่เทอร์มอพิลี ยุทธการที่โอกินาวะ ยุทธการที่บะดัร