ขบวนรถ ของ รถไฟฟ้ารางเบามาเก๊า

Ocean Cruiser
ผู้ผลิตมิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์
ผลิตที่มิฮาระ, จังหวัดฮิโรชิมะ, ญี่ปุ่น
ตระกูลCrystal Mover (Urbanismo-22)
สายการผลิตพ.ศ. 2555-2559
เข้าประจำการพ.ศ. 2562
จำนวนผลิต55 ขบวน (110 ตู้โดยสาร)
ความจุ102 คน (19 ที่นั่ง) / ตู้โดยสาร[6]
ผู้ดำเนินงานบริษัทรถไฟฟ้ารางเบามาเก๊า (MLRT)
คุณลักษณะ
วัสดุตัวถังอะลูมิเนียม-อัลลอย
ความยาวตู้11.2 เมตร (36 ฟุต 8 15/16 นิ้ว)[6]
ความกว้าง2.795 เมตร (9 ฟุต 2 3/64 นิ้ว)[6]
ความสูง3.795 เมตร (12 ฟุต 5 13/32 นิ้ว)[6]
จำนวนประตู4 ประตู (2 ประตูต่อข้าง) ต่อตู้โดยสาร
ความเร็วสูงสุด80 km/h (50 mph)
(ออกแบบ)[6]
น้ำหนัก23,860 กก. (บรรทุกสูงสุด)[6]
ความเร่ง1.0 เมตร/วินาที2
(3.3 ฟุต/วินาที2)[7]
ความหน่วง1.0 เมตร/วินาที2
(3.3 ฟุต/วินาที2) (ปรกติ)
1.3 เมตร/วินาที2
(4.3 ฟุต/วินาที2) (ฉุกเฉิน)[7]
ช่วงกว้างรางรางนำทาง: ด้านข้าง – ล้อยาง

รถไฟฟ้ารางเบามาเก๊าใช้ ขบวนรถมิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์ Crystal Mover รุ่น Urbanismo-22 ซึ่งเป็นระบบขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติ (APM)[28] โดยใช้ล้อยางที่วิ่งบนรางคอนกรีต[29] มิตซูบิชิจะจัดหารถไฟสองตู้โดยสารจำนวน 55 คันซึ่งเป็นแบบอัตโนมัติ (ไร้คนขับ) สามารถขยายความจุผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 476 คนต่อขบวน (4 ตู้โดยสาร)[29] โดยขบวนรถมีชื่อว่า Ocean Cruiser[30]

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

แหล่งที่มา

WikiPedia: รถไฟฟ้ารางเบามาเก๊า http://www.macaodaily.com/html/2013-04/21/content_... http://www.macaodaily.com/html/2014-01/19/content_... http://www.macaodaily.com/html/2015-11/18/content_... http://www.macaodaily.com/html/2018-01/06/content_... http://www.macaodaily.com/html/2019-07/30/content_... http://www.mhi.co.jp/en/news/story/1103031410.html http://www.macaudailytimes.com.mo/macau/20610-Mits... http://www.mlm.com.mo http://www.mlm.com.mo/index.aspx http://www.mlm.com.mo/news_20191206.aspx