ระบบรับความรู้สึกของปลา
ระบบรับความรู้สึกของปลา

ระบบรับความรู้สึกของปลา

บทความนี้ใช้ระบบคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งปลาโดยมากมีอวัยวะรับความรู้สึกที่พัฒนาแล้วเป็นอย่างดีปลากลางวันเกือบทั้งหมดเห็นเป็นสีที่ดีอย่างน้อยก็เท่ากับของมนุษย์ปลาหลายอย่างยังมีตัวรับสารเคมีที่ทำให้สามารถรู้รสและรู้กลิ่นอย่างน่าอัศจรรย์แม้จะมีหูแต่ปลาหลายอย่างก็ได้ยินไม่ค่อยดีปลาโดยมากมีตัวรับความรู้สึกที่ไวโดยเป็นองค์ประกอบของระบบ lateral line[3]ฉลามสามารถรู้สึกแรงสั่นในความถี่ 25-50 เฮิรตซ์ด้วยระบบนี้[4]ปลากำหนดตำแหน่งของตนโดยใช้จุดสังเกต และอาจมีแผนที่ในใจซึ่งประกอบด้วยจุดสังเกตหรือสัญลักษณ์หลายจุดพฤติกรรมของปลาภายในเขาวงกต (maze) แสดงว่า ปลามีความจำเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial memory) และแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ทางตาได้ (visual discrimination)[5]

ใกล้เคียง

ระบบรู้กลิ่น ระบบรับความรู้สึกของปลา ระบบรางวัล ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ระบบรัฐสภา ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในประเทศเกาหลีใต้ ระบบรถไฟฟ้าของรถไฟใต้ดินปักกิ่ง ระบบระบายอากาศ ระบบรองรับ ระบบรับรส

แหล่งที่มา

WikiPedia: ระบบรับความรู้สึกของปลา http://juls.sa.utoronto.ca/Issues/JULS-Vol2Iss1/JU... http://www.buzzle.com/editorials/4-30-2003-39769.a... http://www.karger.com/Article/Abstract/113821 http://www.karger.com/Article/PDF/113821 http://www.karger.com/Article/PDF/316111 http://www.nature.com/nature/journal/v147/n3738/ab... http://shell.cas.usf.edu/motta/Gardiner%20and%20At... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10580499 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16337283 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16849172