เชิงอรรถ ของ ระยะการทดลองทางคลินิก

  1. 1/50–1/100 ของขนาดยาที่ได้ผลในสัตว์ทดลอง[4]
  2. ในประเทศไทย นักเภสัชวิทยาคลินิก (clinical pharmacologist) อาจเป็นผู้ทำ เป็นนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ฝึกมาเพื่อทำงานวิจัยโดยเฉพาะ ชำนาญในสาขาเภสัชวิทยาพื้นฐานและเภสัชวิทยาคลินิก ทำการทดลองโดยแพทย์เป็นผู้ดูแลเพื่อลดภาระของแพทย์[5]
  3. 20-80 คน[4]
  4. 1 2 1-3 พันคนหรือมากกว่า[6]
  5. เป็นระยะ 5 เท่าของครึ่งชีวิตยา[4]
  6. ระยะ 2a เป็นการทดลองหาขนาดยาที่เหมาะสมและไม่เป็นพิษ ทำต่อจากระยะที่ 1 กับอาสาสมัครจำนวนมากขึ้น เพราะขนาดยาที่ได้จากระยะที่ 1 อาจยังไม่เหมาะสมแน่นอน[14]
  7. ระยะ 2b ทดลองขนาดยาที่ได้จากระยะ 2a โดยตรวจสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัย รูปแบบการทดลองเป็นแบบ case series ซึ่งไม่มีกลุ่มควบคุม และแบบการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (RCT)[14]
  8. องค์กรควบคุมในประเทศต่าง ๆ รวมทั้ง

ใกล้เคียง

ระยะการทดลองทางคลินิก ระยะกึ่งแกนเอก ระยะกระจัด ระยะทางแฮมมิง ระยะฟัก ระยะทาง ระยะทางเลเวนชเตย์น ระยะทางจาโร-วิงเคลอร์ ระยะทางพิสูจน์รัก (ภาพยนตร์) ระยะทางพิสูจน์รัก (นวนิยาย)

แหล่งที่มา

WikiPedia: ระยะการทดลองทางคลินิก http://www.cancer.ca/en/cancer-information/diagnos... http://medcitynews.com/2011/06/new-drug-failure-ra... http://www.medscape.com/viewarticle/582554_2 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16522582 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19099004 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19616703 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/21283095 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26390951 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26908540 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2605120