ตารางรัศมีชวาทซ์ชิลท์ ของ รัศมีความโน้มถ่วง

วัตถุมวล M {\textstyle M} รัศมีชวาทซ์ชิลท์ 2 G M c 2 {\textstyle {\frac {2GM}{c^{2}}}} รัศมีจริง r {\textstyle r} ความหนาแน่นชวาทซ์ชิลท์ 3 c 6 32 π G 3 M 2 {\textstyle {\frac {3c^{6}}{32\pi G^{3}M^{2}}}} หรือ 3 c 2 8 π G r 2 {\textstyle {\frac {3c^{2}}{8\pi Gr^{2}}}}
ทางช้างเผือก1.6×1042 kg2.4×1015 m (0.25 ปีแสง)5×1020 m (5.29 หมื่นปีแสง)0.000029 kg/m3
ดวงอาทิตย์1.99×1030 kg2.95×103 m7.0×108 m1.84×1019 kg/m3
ดาวพฤหัสบดี1.90×1027 kg2.82 m7.0×107 m2.02×1025 kg/m3
ดาวโลก5.97×1024 kg8.87×10−3 m6.37×106 m2.04×1030 kg/m3
ดวงจันทร์7.35×1022 kg1.09×10−4 m1.74×106 m1.35×1034 kg/m3
ดาวเสาร์5.683×1026 kg8.42×10−1 m6.03×107 m2.27×1026 kg/m3
ดาวยูเรนัส8.681×1025 kg1.29×10−1 m2.56×107 m9.68×1027 kg/m3
ดาวเนปจูน1.024×1026 kg1.52×10−1 m2.47×107 m6.97×1027 kg/m3
ดาวพุธ3.285×1023 kg4.87×10−4 m2.44×106 m6.79×1032 kg/m3
ดาวศุกร์4.867×1024 kg7.21×10−3 m6.05×106 m3.10×1030 kg/m3
ดาวอังคาร6.39×1023 kg9.47×10−4 m3.39×106 m1.80×1032 kg/m3
มนุษย์70 kg1.04×10−25 m~5×10−1 m1.49×1076 kg/m3
มวลของพลังค์2.18×10−8 kg3.23×10−35 m(เท่าตัวของความยาวของพลังค์)1.54×1095 kg/m3

วัตถุใดก็ตามที่ถูกบีบอัดจนมีรัศมีน้อยกว่ารัศมีชวาทซ์ชิลท์ของตัวมัน วัตถุนั้นจะมีความโน้มถ่วงมหาศาลมากพอทำให้เกิดหลุมดำ ยกตัวอย่างจากตารางข้างต้น ถ้าดาวโลกถูกบีบอัดจนมีขนาดรัศมีเล็กกว่า 8.87 มิลลิเมตร ก็จะเกิดหลุมดำขนาดเล็ก