พระราชวงศ์ไทย ของ รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทาน_ม.จ.ก.

บัญชีรายชื่อนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

     ผู้ได้รับถวายหรือรับพระราชทาน ม.จ.ก. ที่ยังทรงพระชนม์

ฝ่ายหน้า

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปีพระนามอ้างอิง
6 กันยายน พ.ศ. 2425พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (มหาสวามิศราธิบดี)
กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระบำราบปรปักษ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรศักดาพิศาล
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมขุนบดินทรไพศาลโสภณ
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ์
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมหลวงจักรพรรดิพงษ์
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศรวรฤทธิ์
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากร
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมเดช
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการ
พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2426พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศิริธัชสังกาศ
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2426พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพรหมวรานุรักษ์
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร
26 มีนาคม พ.ศ. 2429พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์[1]
21 พฤษภาคม พ.ศ. 2429พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ[2]
13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2429พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสมมตอมรพันธุ์[3]
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2431พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสรรพสาตรศุภกิจ[4]
9 มีนาคม พ.ศ. 2432สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ กรมขุนเทพทวาราวดี[5]
2 ธันวาคม พ.ศ. 2432พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์[6]
15 มกราคม พ.ศ. 2434สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมขุนมไหสูริยสงขลา[7]
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมขุนพิษณุโลกประชานาถ
5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา[8]
17 มีนาคม พ.ศ. 2434สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์[9]
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมขุนลพบุรีราเมศร์
24 มีนาคม พ.ศ. 2434พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์[10]
19 กันยายน พ.ศ. 2435พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ[11]
พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล
29 มีนาคม พ.ศ. 2438พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์[12]
พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ[13]
พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร
11 มิถุนายน พ.ศ. 2440พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช[14]
2 มกราคม พ.ศ. 2440พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์[15]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพงษาดิศรมหิป[16]
8 มกราคม พ.ศ. 2441สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมขุนนครราชสีมา[17]
21 กันยายน พ.ศ. 2443พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์[18]
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร[19]
28 ธันวาคม พ.ศ. 2446สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์[20]
20 กันยายน พ.ศ. 2447พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์[21]
18 มกราคม พ.ศ. 2447สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย[22]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร[23]
4 มีนาคม พ.ศ. 2448สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา[24]
19 กันยายน พ.ศ. 2449พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ[25]
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร[25]
21 กันยายน พ.ศ. 2450พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ[26]
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์[27]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปีพระนามอ้างอิง
23 ตุลาคม พ.ศ. 2453พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (มหาสวามิศราธิบดี)
31 มีนาคม พ.ศ. 2454พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์[28]
12 มกราคม พ.ศ. 2463สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (พระราชทาน ม.จ.ก. ประดับเพชร)[29]
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์[30]
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช[31]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปีพระนามอ้างอิง
26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (มหาสวามิศราธิบดี)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย[32]
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์[33]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
ปีพระนามอ้างอิง
2 มีนาคม พ.ศ. 2477พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (ประธานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก.)
19 กันยายน พ.ศ. 2478พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา[34]
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช[35]
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ (พระราชทาน ม.จ.ก. ประดับเพชร)[35]
19 กันยายน พ.ศ. 2486พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร[36]
11 ธันวาคม พ.ศ. 2488พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร[37]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ปีพระนามอ้างอิง
9 มิถุนายน พ.ศ. 2489พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ประธานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก.)
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต[38]
4 พฤษภาคม พ.ศ. 2495พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร[39]
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2495พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์
4 ธันวาคม พ.ศ. 2508สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ[40]
5 ธันวาคม พ.ศ. 2515พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ[41]
29 มีนาคม พ.ศ. 2537พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ[42]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปีพระนามอ้างอิง
13 ตุลาคม พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประธานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก.)
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ

ฝ่ายใน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปีพระนามอ้างอิง
6 กันยายน พ.ศ. 2425สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี (ตำแหน่งมหาสวามินี)
พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร
พระนางเธอ พระองค์เจ้าสุขุมาลมารศรี
พระนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม
พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์
พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี
พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี
22 ธันวาคม พ.ศ. 2430สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี[43]
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2431พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมขุนสุทธาสินีนาฏ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร วโรฬารลักษณสมบัติ รัตนกุมารี
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล สรรพสกนธ์กัลยาณี
20 มีนาคม พ.ศ. 2435พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี[44]
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี
24 มกราคม พ.ศ. 2439สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์[45]
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา
8 มกราคม พ.ศ. 2441สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล[17]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
8 กันยายน พ.ศ. 2464พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ[46]
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา[47]
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465พระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี[48]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี[49]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา[35]
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์[35]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
25 มีนาคม พ.ศ. 2493สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา[50]
28 เมษายน พ.ศ. 2493สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์[51]
4 พฤษภาคม พ.ศ. 2493พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี[38]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี
4 ธันวาคม พ.ศ. 2500สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี[52]
6 ธันวาคม พ.ศ. 2504สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี[53]
5 ธันวาคม พ.ศ. 2510พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี[54]
14 ธันวาคม พ.ศ. 2514สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์[55]
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี[56]
3 มกราคม พ.ศ. 2520พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาฯ[57]
4 เมษายน พ.ศ. 2520พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต[58]
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562สมเด็จพระราชินีสุทิดา[59]
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี[60]
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา[61]

ใกล้เคียง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน รายพระนามฟาโรห์ รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลี รายพระนามและชื่อภรรยาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

แหล่งที่มา

WikiPedia: รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทาน_ม.จ.ก. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/00... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/00... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/03... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/02... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/02... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/03... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/03... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2431/03... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2431/05... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2432/03...