พายุ ของ ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย_พ.ศ._2558

พายุไซโคลนอโชบา

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา7 – 12 มิถุนายน
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

ในขณะที่พายุยังคงเคลื่อนไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนืออย่างต่อเนื่อง ก่อนที่จะหันไปทางทิศตะวันตก และอ่อนกำลังลงอย่างต่อเนื่องเนื่องจากลมเฉือนระดับปานกลางถึงสูงและการมีปฏิสัมพันธ์กับพื้นดิน

เนื่องจากความชื้นส่วนใหญ่ที่ถูกพายุดึงเข้าไป ภายใต้การโจมตีของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงอนุทวีปอินเดียจนมีลักษณะจนตรอก[3] ฝนที่ตกกระหน่ำลดลงเมื่อพายุผ่านทางตะวันออกของประเทศโอมาน โดยที่เกาะมาซิราฮ์วัดปริมาณน้ำฝนได้ในหนึ่งวัน 225 มิลลิเมตร (8.9 นิ้ว) และโดยรวมมากกว่า 250 มิลลิเมตร (9.8 นิ้ว)[4][5] เกิดน้ำท่วมอย่างมีนัยสำคัญได้รับการแจ้งเตือนไปในหลายพื้นที่ มีการอพยพในขณะที่เกิดลมแรงและกระแสไฟฟ้าขัดข้อง[6] ข้อมูลอากาศจากกัลบาและรัฐฟูไจราห์ ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กล่าวว่ามีสภาพอากาศแปรปรวนจากอโชบา[7]

ดีเปรสชัน BOB 01

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา20 – 22 มิถุนายน
ความรุนแรง45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
994 mbar (hPa; 29.35 inHg)
  • วันที่ 17 มิถุนายน หย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวและพัฒนาขึ้นทางชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอินเดีย ใกล้กับวิสาขปัตนัม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้กึ่งใต้ ที่ระยะ 135 ไมล์ทะเล (250 กม., 155 ไมล์)[8]
  • วันที่ 20 มิถุนายน มีการหมุนเวียนอย่างรวดเร็วไปทางแนวขอบด้านทิศตะวันตกและด้านทิศใต้ของศูนย์กลางระบบ ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่กำลังจะมาถึง[9] แต่เนื่องจากลมเฉือนปานกลางถึงแรงที่เกิดขึ้นจากมรสุม ได้เข้ารบกวนระบบและทำให้การพัฒนาล้มเหลว และ JTWC ได้รายงานว่าระบบได้เหือดหายไปในวันที่ 20 มิถุนายน[10] อย่างไรก็ตาม ในขณะเดียวกัน IMD ได้เริ่มต้นการติดตามระบบเป็นดีเปรสชัน และรายงานว่ามีลมกระโชกถึง 35 นอต (65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 40 ไมล์ต่อชั่วโมง)[11][12]
  • วันที่ 21 มิถุนายน ดีเปรสชันได้เคลื่อนตัวขึ้นที่ชายฝั่งรัฐโอริศา ระหว่างกอปัลปูร์และปูรี[13] โดยไม่มีข้อมูลใดๆ เพิ่มเติม
  • วันที่ 22 มิถุนายน IMD ได้หยุดติดตาม BOB 01[14]

ในวันที่ 21 มิถุนายน ทะเลที่มีคลื่นจากดีเปรสชันทำให้เรือประมงจำนวนมากต้องจอดอยู่ที่ฝั่ง และมีผู้สูญหายอย่างน้อย 150 คน นอกชายฝั่ง[15] ซึ่งส่วนใหญ่จะกลับเข้าไปที่ฝั่งได้อย่างปลอดภัยหรือได้รับการช่วยเหลือภายในวันนั้น อย่างไรก็ตาม ชาวประมงจำนวน 9 คน กลัวว่าจะจมน้ำเสียชีวิต[16] ทั้งรัฐโอริศาถูกแจ้งเตือนตั้งแต่วันที่ 21 - 23 มิถุนายน ซึ่งระบบพายุนี้นำมาซึ่งฝนตกหนักที่สุดของรัฐโอริศา โดยการตรวจวัดที่มัลกันคีรี มีปริมาณน้ำฝนสูงถึง 320 มิลลิเมตร (13 นิ้ว)[17] การเข้าถึงเมืองหลายเมืองในย่านมัลกาคีรีถูกตัดขาดเนื่องจากภาวะน้ำท่วม[18] และมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 6 คน เกิดขึ้นจากเหตุการณ์น้ำท่วม[15]

ดีเปรสชันหมุนเร็ว ARB 02

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา22 – 24 มิถุนายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
988 mbar (hPa; 29.18 inHg)
  • วันที่ 21 มิถุนายน ตามลักษณะอากาศที่แปรปรวนของมรสุม ทำให้พื้นที่ของพายุฝนฟ้าคะนอง พัฒนาเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ ในทะเลอาหรับ ใกล้ชายฝั่งของรัฐคุชราต[19] การหมุนเวียมลมยังคงไปทางทิศตะวันตกของระบบ และยังคงมีการพัฒนาของระบบต่อไปอีก 24 ชั่วโมง[20]
  • วันที่ 22 มิถุนายน IMD เริ่มติดตามดีเปรสชัน และให้รหัสเรียกขาน ARB 02[14] และมันยังคงพัฒนาต่อเนื่องไปจนถึงช่วงกลางคืน ส่วน JTWC เริ่มออก TCFA กับระบบในขณะที่ระบบอยู่ห่างจากมุมไบ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตกที่ระยะ 285 ไมล์ทะเล (528 กิโลเมตร; 328 ไมล์)[21]

ฝนที่ตกกระหน่ำในรัฐคุชราต และมีปริมาณฝนสะสมสูงสุดในบากาซาราที่ 636 มิลลิเมตร (25.0 นิ้ว), ในธารีที่ 511 มิลลิเมตร (20.1 นิ้ว) และในวารียาที่ 400 มิลลิเมตร (16 นิ้ว) เกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรงขึ้นทั่วทั้งภูมิภาค หมู่บ้านหลายแห่งในภูมิภาคเซารัชทรา และยังมีการแจ้งเตือนของหน่วยงานแจ้งเตือนภัยพิบัติแห่งชาติกองทัพอากาศอินเดีย[22] เกิดน้ำท่วมในอำเภออำเรลี ซึ่งเป็นครั้งที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 90 ปี, โดยจากเหตุการณ์นี้กว่า 838 หมู่บ้านใน 600 อำเภอได้รับความเดือดร้อน กว่า 400 แห่ง ไม่สามารถเข้าถึงโดยโดยการเดินทางทางบก[23] มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 80 คน[24] สิงโตอินเดีย ซึ่งเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ซึ่งไดรับการยืนยันว่ามีเพียง 523 ตัวตามเอกสารยืนยันเมื่อเดือนพฤษภาคม 2558 ในจำนวนนี้เกินสิบตัวได้เสียชีวิตและสูญหายในระหว่างน้ำท่วม[25][26]

พายุไซโคลนโกเมน

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา26 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
986 mbar (hPa; 29.12 inHg)
  • วันที่ 30 กรกฎาคม IMD ได้ปรับเพิ่มระดับความรุนแรงของระบบ เป็นพายุโซโคลน และใช้ชื่อ โกเมน[27]

ประเทศพม่าได้รับผลกระทบจากฝนตกจากพายุ ทำให้เกิดน้ำท่วมอย่างกว้างขวาง ผู้คนกว่า 100,000 คนได้รับผลกระทบ และอย่างน้อย 20 คนเสียชีวิต นอกจากนี้ บ้านเรือนกว่า 170,000 หลังถูกทำลาย[28] และยังเกิดน้ำท่วมในลักษณะบังคลาเทศ มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 7 คน และอีกว่า 130,400 คนได้รับผลกระทบ[29] ส่วนน้ำท่วมในรัฐโอริศา, อินเดีย คร่าชีวิตผู้คนกว่า 3 คน และผู้คนอีกกว่า 398,000 คน[30] ผู้คนอย่างน้อย 39 คน เสียชีวิตในรัฐเบงกอลตะวันตก จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งโดยตรง และทางอ้อมจากพายุ เช่น ไฟฟ้าดูด และ ถูกงูกัด[31]

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว ARB 03

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา9 – 12 ตุลาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
1001 mbar (hPa; 29.56 inHg)

พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมากจาปาลา

พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมาก (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา28 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน
ความรุนแรง215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
940 mbar (hPa; 27.76 inHg)

พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมากเมฆ

พายุไซโคลนกำลังแรงอย่างมาก (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา5 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
964 mbar (hPa; 28.47 inHg)

ดีเปรสชันหมุนเร็ว BOB 03

ดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา8 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
991 mbar (hPa; 29.26 inHg)

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย_พ.ศ._2558 http://www.thenational.ae/world/middle-east/widesp... http://www.accuweather.com/en/weather-news/oman-to... http://www.business-standard.com/article/pti-stori... http://www.emirates247.com/news/emirates/ashobaa-l... http://gulfnews.com/news/gulf/oman/heavy-rains-cau... http://www.hindustantimes.com/india-news/gujarat-d... http://www.hindustantimes.com/india-news/gujarat-f... http://timesofindia.indiatimes.com/city/vijayawada... http://timesofindia.indiatimes.com/india/Ashobaa-s... http://timesofindia.indiatimes.com/india/Gujarats-...