โบราณวัตถุ ของ วัฒนธรรมหงชาน

เรือเครื่องปั้นดินเผาทรงกระบอกทาสีวัฒนธรรมหงชาน (ราว 4700–2900 ปีก่อนคริสตกาล) เหลียวหนิงปี 1988 พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน ปักกิ่ง หยกรูปสัตว์

ศิลปวัตถุของวัฒนธรรมหงชานที่ถูกฝังใต้ดิน ได้แก่ ตัวอย่างงาน หยก เป็นที่รู้จักมากที่สุด วัฒนธรรมหงซานเป็นที่รู้จักกว้างขวางในเรื่องศิลปกรรมหินหยกรูป มังกรหมู (หรือ ทารกมังกร) นอกจากนี้ยังพบตุ๊กตาดินเผา รูปตุ๊กดาหญิงตั้งครรภ์ทั่วพื้นที่วัฒนธรรมหงซาน ยังมีการขุดพบแหวนทองแดงขนาดเล็กด้วย [ต้องการอ้างอิง] [2]

  • จี้ หยก รูปคล้าย กีบ วัฒนธรรมหงชานใน เหลียวหนิง ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน ปักกิ่ง
  • เครื่องประดับหยกรูปสัตว์ วัฒนธรรมหงชาน, Niuheliang Lingyuan เหลียวหนิง ปี 2546 ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน ปักกิ่ง[3]
  • หยกประดับเป็นรูป เมฆแขวน ขนาดประมาณ 20 ซม. วัฒนธรรมหงซาน ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน [4]
  • เครื่องประดับหยกในรูปแบบของ ปี้ (璧, Bì) สามแผ่น ใน Niuheliang, หลิงหยวน เหลียวหนิง ปี 2545 พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน[3]
  • จี้ รูปมังกรหมู[5] หรือ ตัวอ่อนมังกร วัฒนธรรมหงซานเหลียวหนิง ขนาด 15.3 ซม. อายุประมาณ 4700-3,000 ปีก่อนคริสตกาล Musée Guimet[6].
  • หุ่นดินเผาผู้หญิง หรือ หญิงมีครรภ์ อายุ 3500 ปีก่อนคริสตกาล สูง 7.8 ซม. ค้นพบที่ เหลียวหนิง ปี 2525 วัฒนธรรมหงซาน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน
  • มังกรหมู จัดแสดงใน บริติชมิวเซียม