พื้นฐาน ของ วิธีใช้:รายการ

มีรายการอยู่สามประเภท ได้แก่ รายการไม่เรียงลำดับ รายการเรียงลำดับและรายการคำอธิบาย (หรือรายการบทนิยามหรือรายการความสัมพันธ์) ในส่วนต่อไปนี้ใช้รายการประเภทต่าง ๆ สำหรับตัวอย่างต่าง ๆ กัน แต่รายการประเภทอื่นโดยทั่วไปจะให้ผลลัพธ์คล้ายกัน รายการเรียงลำดับ (เลขนำ) ปกติควรใช้เฉพาะเมื่อรายการที่จัดนั้นควรอยู่ในลำดับเฉพาะ เช่น ขั้นตอนในสูตรทำอาหาร

มาร์กอัพแสดงผลเป็น
* รายการสร้างได้ง่าย ๆ** แค่ขึ้นต้นบรรทัดใหม่* ด้วยเครื่องหมายดอกจัน** ยิ่งมีเครื่องหมายดอกจันมาก*** จะยิ่งหมายถึงระดับย่อยลงเรื่อย ๆ
  • รายการสร้างได้ง่าย ๆ
    • แค่ขึ้นต้นบรรทัดใหม่
  • ด้วยเครื่องหมายดอกจัน
    • ยิ่งมีเครื่องหมายดอกจันมาก
      • จะยิ่งหมายถึงระดับย่อยลงเรื่อย ๆ
* บรรทัดใหม่* ในรายการเป็นการสิ้นสุดของรายการ แต่แน่นอนว่า* คุณสามารถ* เริ่มใหม่ได้
  • บรรทัดใหม่
  • ในรายการ

เป็นการสิ้นสุดของรายการ แต่แน่นอนว่า

  • คุณสามารถ
  • เริ่มใหม่ได้
# รายการเลขนำมีข้อดี## เป็นระเบียบ## ติดตามได้ง่าย
  1. รายการเลขนำมีข้อดี
    1. เป็นระเบียบ
    2. ติดตามได้ง่าย
รายการคำอธิบาย (บทนิยาม, ความสัมพันธ์):; คำ : คำอธิบายหรือ; คำ : คำอธิบายสามารถใช้มากกว่าคำและบทนิยามได้โดยสภาพหรือ; คำ : คำอธิบายบรรทัดที่ 1: คำอธิบายบรรทัดที่ 2

รายการคำอธิบาย (บทนิยาม, ความสัมพันธ์):

คำคำอธิบาย

หรือ

คำคำอธิบาย

สามารถใช้มากกว่าคำและบทนิยามได้โดยสภาพ

หรือ

คำคำอธิบายบรรทัดที่ 1คำอธิบายบรรทัดที่ 2
* หรือสร้างรายการผสม*# แล้วซ้อนใน*#* แบบนี้*#*; ผลไม้*#*: แอปเปิล*#*: บลูเบอร์รี
  • หรือสร้างรายการผสม
    1. แล้วซ้อนใน
      • แบบนี้ผลไม้แอปเปิลบลูเบอร์รี
# การขึ้นบรรทัดใหม่ในรายการให้ใช้เอชทีเอ็มแอลอย่างนี้ <br /># ถ้าใช้วิธีขึ้นบรรทัดใหม่ตรง ๆ จะทำให้รายการสิ้นสุดลงโดยไม่ได้ตั้งใจแบบนี้# นี่ควรเป็นรายการที่ 3 ไม่ใช่รายการใหม่
  1. การขึ้นบรรทัดใหม่ในรายการให้ใช้เอชทีเอ็มแอลอย่างนี้ <br />
  2. ถ้าใช้วิธีขึ้นบรรทัดใหม่ตรง ๆ จะทำให้รายการสิ้นสุดลงโดยไม่ได้ตั้งใจ

แบบนี้

  1. นี่ควรเป็นรายการที่ 3 ไม่ใช่รายการใหม่
* ย่อหน้าใหม่ในรายการก็ใช้เอชทีเอ็มแอล <p>เช่นกัน</p>* เหมือนกับ<blockquote>"อัญพจน์บล็อก"</blockquote>แบบนั้น* หมายเหตุว่าใช้โดยไม่แยกบรรทัดของมาร์กอัพวิกิ
  • ย่อหน้าใหม่ในรายการก็ใช้เอชทีเอ็มแอล

    เช่นกัน

  • เช่นเดียวกับ

    "อัญพจน์บล็อก"

    แบบนั้น
  • หมายเหตุว่าใช้โดยไม่แยกบรรทัดของมาร์กอัพวิกิ

ความผิดพลาดที่พบบ่อย

จะต้องไม่มีบรรทัดว่างระหว่างรายการ บรรทัดว่างจะเป็นการสิ้นสุดรายการ แบ่งให้เป็นสองรายการแยกกัน ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้ง่ายโดยใช้รายการเรียงลำดับ

มาร์กอัพแสดงผลเป็น
# นี่คือรายการที่ 1# นี่คือรายการที่ 2# นี่คือรายการที่ 3# นี่คือรายการที่ 4
  1. นี่คือรายการที่ 1
  2. นี่คือรายการที่ 2
  3. นี่คือรายการที่ 3
  4. นี่คือรายการที่ 4
# นี่คือรายการที่ 1# นี่คือรายการที่ 2# นี่คือรายการที่ 3# นี่คือรายการที่ 4
  1. นี่คือรายการที่ 1
  2. นี่คือรายการที่ 2
  1. นี่คือรายการที่ 3
  2. นี่คือรายการที่ 4

หมายเหตุ: ในวิกิพีเดียภาษาไทย สำหรับเซลล์ของตารางหรือตัวแปรเสริมของแม่แบบ อาจต้องใส่ <nowiki /> ในบรรทัดแรก และขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อให้เครื่องหมายวรรคตอน (# ;) แสดงผลได้ถูกต้อง มิฉะนั้นบรรทัดแรกจะกลายเป็นเครื่องหมายวรรคตอนตามปกติ

ในตัวอย่างที่สองข้างต้น การเรียงเลขตั้งค่าใหม่หลังการขึ้นบรรทัดใหม่ ปัญหานี้อาจสังเกตได้ไม่ชัดกับรายการประเภทอื่น แต่ยังส่งผลต่อรหัสเอชทีเอ็มแอลพื้นหลังและอาจมีผลรบกวนสำหรับผู้อ่านบางคน

หากจะทำให้เป็นรายการ แต่ละบรรทัดจะต้องขึ้นต้นเหมือนกัน ซึ่งใช้กับรายการผสมด้วย

มาร์กอัพแสดงผลเป็น
# หากคุณเริ่มด้วย# รายการประเภทหนึ่ง#; และรายการย่อย#: คนละประเภท#:* จะต้องใส่อักขระรายการ# เรียงลำดับเสมอ
  1. หากคุณเริ่มด้วย
  2. รายการประเภทหนึ่งและรายการย่อยคนละประเภท
    • จะต้องใส่อักขระรายการ
  3. เรียงลำดับเสมอ
# หากคุณกลับ# อันดับ;# ทุกอย่าง:# จะ*:# พังทันที# และไม่มีอะไรที่เข้ากัน
  1. หากคุณกลับ
  2. อันดับ
  1. ทุกอย่าง
  1. จะ
    1. พังทันที
  1. และไม่มีอะไรที่เข้ากัน

ความผิดพลาดนี้ก็เห็นได้ไม่ชัดเช่นกันในบางกรณี แต่มันจะสร้างรายการประเภทต่าง ๆ ที่มีรายการเดียว นอกจากจะมีความหมายผิดแล้ว อาจมีผลข้างเคียงรบกวนต่อผู้อ่านบางคน

อย่าใช้เครื่องหมายอัฒภาค (;) เพื่อให้ชื่อเรื่องแก่รายการ เพราะอัฒภาคและทวิภาค (:) ก็เป็นรายการประเภทหนึ่ง เครื่องหมายดอกจันก็สร้างรายการอีกประเภทหนึ่ง

มาร์กอัพแสดงผลเป็น
;ห้ามทำ*อย่างนี้
ห้ามทำ
  • อย่างนี้

ใกล้เคียง

วิธีใช้ วิธีกงดอร์แซ วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ วิธีการเข้าถึงหลายช่องทาง วิธีการครอส-เอนโทรปี วิธีค่าเฉลี่ยสูงสุด วิธีโดนต์ วิธีเหลือเศษสูงสุด วิธีเดลฟาย วิธีเว็บสเตอร์/แซ็งต์-ลากูว์