สงกรานต์ในประเทศไทย
สงกรานต์ในประเทศไทย

สงกรานต์ในประเทศไทย

สงกรานต์ เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 13-15 เมษายนของทุกปี บางครั้งรัฐบาลอาจประกาศยืดวันหยุดช่วงดังกล่าว เช่นเมื่อปี 2018 รัฐบาลประกาศเป็นวันหยุดระหว่าง 12–16 เมษายน[1] เช่นเดียวกับเมื่อปี 2019[2] "สงกรานต์" มาจากคำในภาษาสันสกฤต saṃkrānti (สํกฺรานฺติ)[3] แปลตรงตัวว่า "การเปลี่ยนผ่านของดวงดาว" หรือ "การเปลี่ยนแปลง" สงกรานต์ตรงกับการเริ่มต้นของราศีเมษ[4] และตรงกับวันปีใหม่พื้นถิ่นในหลายวัฒนธรรมของเอเชียใต้และตัวนออกเฉียงใต้ถึงแม้ในปัจจุบัน วันขึ้นปีใหม่ทางการของไทยคือ 1 มกราคม แต่ในอดีต ประเทศสยามใช้วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ทางการจนกระทั่ง ค.ศ. 1888 ซึ่งประกาศให้วันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 เมษายน จากนั้นใน ค.ศ. 1940 จึงเปลี่ยนเป็น 1 มกราคม ในขณะที่วันสงกรานต์กลายเป็นเทศกาลทั่วประเทศ[5]

สงกรานต์ในประเทศไทย

ส่วนเกี่ยวข้อง วันปีใหม่สุริยคติเอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้
ความสำคัญ วันปีใหม่ไทย
จัดขึ้นโดย ชาวไทย, ชาวสยามมาเลเซีย
เสร็จ 15 เมษายน
เริ่ม 13 เมษายน
ความถี่ รายปี

ใกล้เคียง

สงกรานต์ในประเทศไทย สงกรานต์ สงกรานต์ เตชะณรงค์ สงกรานต์ จิตสุทธิภากร สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ สงกรานต์เลือด สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ รังสรรค์ สงกรานต์ พยนต์เลิศ สงครามโลกครั้งที่สอง

แหล่งที่มา

WikiPedia: สงกรานต์ในประเทศไทย http://thai.cri.cn/1/2007/04/16/21@96755.htm http://thai.cri.cn/1/2007/04/16/21@96760.htm http://www.nationmultimedia.com/detail/breakingnew... http://www.tatnews.org/the-magic-and-traditions-of... http://www.thairath.co.th/content/oversea/162639 https://www.chiangraitimes.com/thai-government-app... https://books.google.com/books?id=KDU30Ae4S4cC&pg=... https://web.archive.org/web/20140405103542/http://... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Songkr...