สตรีในประเทศญี่ปุ่น
สตรีในประเทศญี่ปุ่น

สตรีในประเทศญี่ปุ่น

แม้ว่าสตรีในประเทศญี่ปุ่นจะได้รับการยอมรับว่ามีสิทธิตามกฎหมายเท่าเทียมกันกับผู้ชายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่สภาพทางเศรษฐกิจของสตรียังคงไม่สมดุล[5] ซึ่งความคิดริเริ่มด้านนโยบายสมัยใหม่เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของมารดาและในสถานที่ทำงานให้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย[6]สตรีในประเทศญี่ปุ่นได้รับสิทธิลงคะแนนเสียงใน ค.ศ. 1945[7] แม้ว่าสถานะของสตรีชาวญี่ปุ่นจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายทศวรรษนับตั้งแต่นั้นมา แต่ความคาดหวังแบบดั้งเดิมสำหรับผู้หญิงที่แต่งงานแล้วและมารดาถูกมองว่าเป็นอุปสรรคต่อความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจโดยสมบูรณ์[8] ส่วนสถาบันกษัตริย์เป็นสถาบันสำหรับชายเท่านั้น และเจ้าหญิงจะต้องลาออกจากตำแหน่งของจักรพรรดิหากเธอแต่งงานกับคนธรรมดาสามัญ

สตรีในประเทศญี่ปุ่น

การตายของมารดา (ต่อ 100,000 คน) 5 (ค.ศ. 2010)
อันดับ 116 จาก 146
สตรีอายุมากกว่า 25 ปีที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา 80.0 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2010)
ค่า 0.650 (ค.ศ. 2022)
สตรีในรัฐสภา 10.2 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2018)[1]
สตรีในกำลังแรงงาน อัตราการจ้างงาน 64.6 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2015)[2]

ใกล้เคียง

สตรีในประเทศไทย สตรีในประเทศญี่ปุ่น สตรีในประเทศอาร์มีเนีย สตรีในประเทศอัฟกานิสถาน สตรีในประเทศยูเครน สตรีในประเทศออสเตรเลีย สตรีในประเทศสิงคโปร์ สตรีใส่เสื้อสีน้ำเงินยืนอ่านจดหมาย สตรีศักดิ์สิทธิ์อิทธิฤทธิ์สารพัดอย่าง สตรีทไฟเตอร์ V

แหล่งที่มา

WikiPedia: สตรีในประเทศญี่ปุ่น http://www.ipu.org/wmn-e/classif.htm http://stats.oecd.org/Index.aspx?DatasetCode=LFS_S... https://hdr.undp.org/system/files/documents/global... https://www3.weforum.org/docs/WEF_GGGR_2022.pdf https://www.ndl.go.jp/constitution/e/etc/history02... http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/jptoc.html https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19852238 https://search.proquest.com/docview/203930080 https://web.archive.org/web/20020321223904/http://... http://lookjapan.com/LBcoverstory/98MarCS.htm