หมายเหตุและอ้างอิง ของ สภาวะตื่นตัว

  1. reticular activating system (RAS) หรือ extrathalamic contr(คณิตศาสตร์)|เซต]]ของนิวเคลียสเซลล์ประสาทที่เชื่อมต่อกันในสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ควบคุมความตื่นตัว และการตื่นหลับ (sleep-wake transitions) ระบบย่อยที่สำคัญที่สุดของ
  2. 1 2 3 การใส่ใจภายนอก (Extraversion) เป็นการกระทำ สภาวะ หรือนิสัย ที่ส่วนมากใส่ใจ และแสวงหาความพอใจ จากสิ่งที่อยู่ภายนอกจากตน
  3. 1 2 การใส่ใจภายใน หรือ การใส่ใจสภาวะจิตภายใน (introversion) เป็นสภาวะของ หรือความโน้มเอียงไปใน การใส่ใจและความสนใจในสภาวะจิตใจของตน จะเป็นโดยส่วนมากหรือโดยทั้งหมดก็ตาม
  4. Randy J. Larsen, David M Buss; "Personality psychology, domains of knowledge about human nature", McGraw Hill, 2008
  5. Easterbrooke, J.A. (1959). The effect of emotion on cue utilization and the organization of behavior. Psychological Review, 66, 187-201
  6. Csikszentmihalyi, M., Finding Flow, 1997
  7. 1 2 3 4 5 Lashley, K (1930). "Basic Neural Mechanisms in Behavior". The Psychological Review. 37 (1): 1–24. Unknown parameter |month= ignored (help); |access-date= requires |url= (help)
  8. Neuroticism เป็นบุคคลิกภาพพื้นฐานในจิตวิทยา มีอาการปรากฏคือความไม่สบายใจ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ความกังวลใจ และความริษยา ผู้ที่ได้คะแนนสูงในภาค Neuroticism มักจะประสบความรู้สึกต่างๆ เช่น ความไม่สบายใจ ความโกรธ ความรู้สึกผิด และความซึมเศร้า มากกว่าคนอื่น เป็นผู้ที่ตอบสนองต่อความกดดันรอบข้างแย่กว่าคนอื่น และมักจะคิดถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่ปกติธรรมดาว่า เป็นภัย และอุปสรรคเล็กน้อยว่า ยากสุดที่จะหวัง มักจะสนใจในตัวเองมากและขี้อาย และอาจจะมีความยากลำบากในการควบคุมความต้องการระยะสั้น เพื่อจะได้ผลที่ดีกว่าในระยะยาว Neuroticism เป็นความเสี่ยงที่จะให้เกิดความผิดปกติทางจิตที่เกิดขึ้นจากการคิดมากเกินไป เช่น ความกลัวโน่นกลัวนี่ ความซึมเศร้า ความตกใจกลัวรุนแรงและบ่อยๆ และความผิดปกติเกี่ยวกับความวิตกกังวลแบบอื่นๆ
  9. 1 2 Zajenkowski, Marcin (5). "Variability of the relationship between personality and mood". Elsevier. Personality and Individual Differences. 52: 858–861. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Check date values in: |date=, |year= / |date= mismatch (help); |access-date= requires |url= (help)
  10. การเข้ารหัสโดยรวมๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็กๆบนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้
  11. การใส่ใจแบบเลือก (selective attention) คือความสามารถในการใส่ใจในตัวกระตุ้นอย่างหนึ่งในขณะที่ไม่ใส่ใจตัวกระตุ้นหลายอย่างอื่น เหมือนคนคุยกันในที่เสียงดังสามารถใส่ใจในบทความที่สนทนากันได้
  12. Sharot, T (2004). "How arousal modulates memory: Disentangling the effects of attention and retention". Cognitive, Affective, & Behavioral Neuroscience. 4 (3): 294–306. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  13. Mickley Steinmetz, K (2012). "The effect of emotional arousal and retention delay on subsequent-memory effects". Cognitive Neuroscience. 3 (4): 150–159. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  14. Jeong, E (2012). "Corrigendum to "Are there optimal levels of arousal to memory? effects of arousal, centrality, and familiarity on brand memory in video games"". Computers in Human Behavior. 28 (4): 285–291. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  15. 1 2 Revelle, W. "The implications of arousal effects for the study of affect and memory".
  16. Ramsoy, T (2012). "Effects of perceptual uncertainty on arousal and preference across different visual domains". Journal of Neuroscience, Psychology, and Economics. 5 (4): 212–226. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  17. 1 2 Suri, G (2012). "Predicting affective choice". Journal of Experimental Psychology: General. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  18. Ariely, D (2006). "The heat of the moment: The effect of sexual arousal on sexual decision making". Journal of Behavioral Decision Making. 19 (2): 87–98. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  19. สภาวะขัดแยังกันของการเผชิญหน้าและการหลีกเลี่ยง (approach-avoidance conflict) เกิดขึ้นเมื่อมีเป้าหมายหรือเหตุการณ์ที่มีทั้งผลบวกและผลลบ หรือมีลักษณะที่ทำให้เป้าหมายนั้นน่าพึงใจและไม่น่าพึงใจในเวลาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น การแต่งงานเป็นการตัดสินใจ เป็นเป้าหมาย เป็นเหตุการณ์ที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ที่มีทั้งผลลบและผลบวก สภาวะนี้เป็นองค์ประกอบของความเครียดที่ถูกเสนอโดยนักจิตวิทยาเคอร์ต เลวิน ผู้เป็นบิดาของจิตวิทยาสมัยปัจจุบัน
  20. ในจิตวิทยา ทฤษฎีพลิกกลับ (reversal theory) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับบุคคลิกภาพ แรงจูงใจ และอารมณ์ ของมนุษย์ ทฤษฎีพิจารณาคุณสมบัติที่ไม่อยู่นิ่งๆ ของประสบการณ์ของมนุษย์ เพื่อจะพรรณนากระบวนการที่บุคคลหนึ่งๆ กลับไปกลับมาระหว่างสภาวะของจิตใจ ซึ่งสะท้อนถึงรูปแบบการจูงใจของบุคคลนั้น และความหมายที่บุคคลนั้นให้กับสถานการณ์นั้นในเวลานั้นๆ ตัวอย่างเช่น คนที่เล่นรถไฟตีลังกาบางครั้งก็ตื่นเต้น บางครั้งก็กลัว เด็กทารกที่ร้องไห้บางครั้งก็ก่อให้เกิดความสงสาร บางครั้งก็ก่อให้เกิดความรำคาญ
  21. Walters, J. (1982). "Color preference, arousal, and the theory of psychological reversals". Motivation and Emotion. 6 (13): 193–215. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  22. Liotti, M. (1992). "Right hemisphere sensitivity to arousal and depression". Brain and Cognition. 18 (2): 138–151. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  23. Thibodeau, M. (2012). "Objective and perceived arousal during performance of tasks with elements of social threat: The influence of anxiety sensitivity". Journal of Behavior Therapy and Experimental Psychiatry. 43 (3): 967–974. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  24. บาบิทเชอริท (barbiturate) เป็นยาที่กดระบบประสาทกลาง ดังนั้นจึงก่อให้เกิดผลต่างๆ มากมายหลายระดับ เริ่มตั้งแต่การระงับประสาทอย่างอ่อนๆ จนไปถึงการไม่รู้สึกตัว เป็นยาที่เกิดการติดได้ทั้งทางกายและทางใจ ปัจจุบันยังมีการใช้เป็นยาชา เพื่อโรคลมชัก และเพื่อเหตุอื่นๆ เป็นยาที่มีกำเนิดจากกรดบาบิชูริค
  25. 1 2 Mirr, Michelne Pheifer. "Abnormally Increased Behavioral Arousal" Cris Stewart- Amidei and Joyce A. Kunkel. Neuroscience Nursing: Human Response to Neurologic Dysfunction. W. B. Sunders Philadelphia: PA, 2001
  26. สภาวะฟุ้งซ่าน (mania) เป็นสภาวะที่มีอารมณ์ฉุนเฉียวได้ง่าย มีความตื่นตัวสูง และมีระดับพลังสูง เป็นสภาวะตรงข้ามกับสภาวะซึมเศร้าโดยบางส่วน

ใกล้เคียง

สภาวะเห็นทั้งบอด สภาวะตื่นตัว สภาวะโลกร้อน สภาวะสมดุลอุทกสถิต สภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน สภาวะไม่พูดและเสียการเคลื่อนไหว สภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา สภาวะกระโดดที่ผิวหนัง สภาวะกรด สภาวะแวดล้อม