ดิสคริมิแนนต์ ของ สมการกำลังสาม

สมการกำลังสามทุกสมการที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง จะมีรากของสมการ 3 คำตอบเสมอ ซึ่งจะต้องมีจำนวนจริงอย่างน้อยหนึ่งจำนวนที่เป็นคำตอบ ตามทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (intermediate value theorem) และคำตอบเหล่านั้นอาจจะเท่ากันบางค่าก็ได้ ส่วนอีกสองจำนวนที่เหลือสามารถแยกแยะได้จากการพิจารณาดิสคริมิแนนต์ ซึ่งคำนวณจาก

Δ = 4 b 3 d − b 2 c 2 + 4 a c 3 − 18 a b c d + 27 a 2 d 2 {\displaystyle \Delta =4b^{3}d-b^{2}c^{2}+4ac^{3}-18abcd+27a^{2}d^{2}\!}

คำตอบของสมการจะเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้

  • ถ้า Δ < 0 คำตอบของสมการจะเป็นจำนวนจริงทั้งสามค่า ที่แตกต่างกันทั้งหมด
  • ถ้า Δ > 0 คำตอบของสมการจะมีหนึ่งค่าที่เป็นจำนวนจริง และอีกสองจำนวนเป็นจำนวนเชิงซ้อนสังยุคซึ่งกันและกัน
  • ถ้า Δ = 0 คำตอบของสมการจะเป็นจำนวนจริงทั้งสามค่า ซึ่งมีสองจำนวนเป็นค่าเดียวกัน หรือ เป็นค่าเดียวกันทั้งสามจำนวน อย่างใดอย่างหนึ่ง

ใกล้เคียง

สมการ สมการเชิงเส้น สมการนาเวียร์–สโตกส์ สมการของแมกซ์เวลล์ สมการกำลังสอง สมการกำลังสาม สมการชเรอดิงเงอร์ สมการจรวดซีออลคอฟสกี สมการแฟรแนล สมการเชิงอนุพันธ์แบร์นูลลี

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมการกำลังสาม http://www.akiti.ca/Quad3Deg.html http://www25.brinkster.com/denshade/cardano.html http://www.mathopenref.com/cubicexplorer.html http://numericalmethods.eng.usf.edu/mws/gen/03nle/... http://arxiv.org/abs/math.HO/0310449 http://mathdl.maa.org/convergence/1/ http://mathdl.maa.org/convergence/1/?pa=content&sa... http://planetmath.org/?op=getobj&from=objects&id=1... http://www-history.mcs.st-and.ac.uk/history/HistTo... http://www.m-a.org.uk/docs/library/2059.pdf