สมเด็จพระวันรัต
สมเด็จพระวันรัต

สมเด็จพระวันรัต

สมเด็จพระวันรัต แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกายวันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏ[2] ที่มีชื่อเสียงปรากฏเด่นชัดอีกรูปหนึ่งคือสมเด็จพระพนรัตน์ป่าแก้ว ซึ่งได้เข้าไปถวายพระพรสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขอพระราชทานอภัยโทษแก่แม่ทัพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทันคราวสงครามยุทธหัตถี[2]สมเด็จพระวันรัต ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระมหาเถระผู้จะได้รับพระราชทานนามนี้จะต้องมีความสำคัญมากในด้านภูมิธรรม โดยเฉพาะความป็นผู้ยินดีในการปฏิบัติกรรมฐาน ยินดีในการปลีกวิเวก

สมเด็จพระวันรัต

สถาปนา พ.ศ. 2325
ผู้ประเดิมตำแหน่ง พระธรรมธิราราชมหามุนี ว่าที่พระพนรัตน
ที่พำนัก พระอารามหลวง
ผู้แต่งตั้ง พระมหากษัตริย์ไทย
เงินตอบแทน 27,400 บาท[1]
การเรียกขาน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ
วาระ ตลอดพระชีพ

ใกล้เคียง

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก