ฉบับแปลภาษาอื่นๆ ของ สัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ดังที่ทราบกันในบรรดานักวิชาการทางพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดียในสมัยพุทธกาล ยังไม่มีการบันทึกคำสอนศักดิ์สิทธิ์เป็นลายลักษณ์อักษร จึงใช้วิธีท่องจำคำสอนสำคัญต่าง ๆ และถ่ายทอดด้วยปากเปล่า คำสอนของพระพุทธองค์ถูกถ่ายทอดผ่านการสวดท่องและท่องจำโดยพระสงฆ์ ตามการค้นคว้าทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ เช่น นิรุกติศาสตร์ คาดกันว่าในกระบวนการถ่ายทอด ถ้อยคำเดิมถูกเปลี่ยนไป เนื้อหาของคัมภีร์ได้รับการจัดเป็นหมวดหมู่ และมีการตีความต่าง ๆ เพิ่มเติม มีการเรียบเรียงคำสอนของพระพุทธองค์เป็น “พระสูตรต่างๆ” และข้อบังคับของคณะสงฆ์เป็น “พระวินัย”

จนกระทั่งเมื่อมีการสังคายนาธรรม ในที่ประชุม พระสงฆ์จะสวดท่องคำสอนของพระพุทธองค์ มีการยืนยันถ้อยคำตามที่ได้ท่องจำมา และลงมติเห็นชอบก่อนที่จะจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร

ดังนั้น เช่นเดียวกันกับในสัทธรรมปุณฑริกสูตร แต่ละบทหรือท่อนหลักจึงเริ่มต้นด้วยคาถาดังว่า “อาตมาได้สดับมาดังนี้”

ฉบับภาษาไทย

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ที่แปลเป็นภาษาไทยมีหลายฉบับ แต่ฉบับที่สมบูรณ์มี 3 ฉบับ ได้แก่

ฉบับแปลไม่สมบูรณ์ อาทิ ฉบับ อ.เลียง เสถียรสุต (บทสมันตมุขปริวรรต) แปลจากภาษาจีน

ฉบับภาษาตะวันตก

  • Burnouf, Eugène (tr.). Le Lotus de la Bonne Loi : Traduit du sanskrit, accompagné d'un commentaire et de vingt et un mémoires relatifs au Bouddhisme. Paris 1852 (Imprimerie Nationale). - French translation from Sanskrit, first in Western language.
  • Kern, H. (tr.). Saddharma Pundarîka or the Lotus of the True Law. Oxford 1884 (Clarendon Press) Sacred Books of the East, Vol. XXI, New York 1963 (Dover), Delhi 1968. Translation from Sanskrit.
  • Soothill, W. E. (tr.). The Lotus of the Wonderful Law or The Lotus Gospel. Oxford 1930 (Clarendon Press). Abridged translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Murano Senchū (tr.). The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law. Tokyo 1974 (Nichiren Shu Headquarters). Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Katō Bunno, Tamura Yoshirō, Miyasaka Kōjirō (tr.), The Threefold Lotus Sutra : The Sutra of Innumerable Meanings; The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law; The Sutra of Meditation on the Bodhisattva Universal Virtue. New York & Tōkyō 1975 (Weatherhill & Kōsei Publishing).
  • Hurvitz, Leon (tr.). Scripture of the Lotus Blossom of the Fine Dharma: The Lotus Sutra. New York 1976 (Columbia University Press). Records of Civilization: Sources and Studies. Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Kuo-lin Lethcoe (ed.). The Wonderful Dharma Lotus Flower Sutra with the Commentary of Tripitaka Master Hsuan Hua. Translated by the Buddhist Text Translation Society. San Francisco 1977 (Buddhist Text Translation Society). Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Watson, Burton (tr.). The Lotus Sutra. New York 1993 (Columbia University Press) Translations from the Asian Classics. Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Kubo Tsugunari, Yuyama Akira (tr.) The Lotus Sutra. Revised 2nd ed. Berkeley, Calif. : Numata Center for Buddhist Translation and Research, 2007. Translation from the Chinese of Kumārajīva with input from the Central Asian Kashgar Sanskrit manuscript. ISBN 9781886439399
  • Reeves, Gene (tr.) The Lotus Sutra : A Contemporary Translation of a Buddhist Classic. Boston 2008 (Wisdom Publications), ISBN 0-86171-571-3. xii + 492 pp. Translation from the Chinese of Kumārajīva. Includes also the opening and closing sutras The Sutra of Innumerable Meanings and The Sutra of Contemplation of the Dharma Practice of Universal Sage Bodhisattva.