เบื้องหลังและนโยบาย ของ สันนิบาตสามจักรพรรดิ

บิสมาร์คมักจะนำสันนิบาตเพราะมันประเมินความท้าทายซึ่งมีศูนย์กลางในการธำรงรักษาไว้ซึ่งสมดุลแห่งอำนาจระหว่างรัฐที่เกี่ยวข้องและยุโรปทั้งหมด รากฐานของปรัชญาการเมืองของเขารวมไปถึงการอุทิศตัวเพื่อรักษาไว้ซึ่งสถานะเดิมและหลีกเลี่ยงสงคราม แม้ว่าเยอรมนีจะได้รับชัยชนะในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ใน ค.ศ. 1870-71 ความรุนแรงยังคงเกิดขึ้นสดใหม่ในความทรงจำของรัฐที่เพิ่งรวมขึ้นใหม่นี้ และทำให้เยอรมนีไม่เต็มใจจะเป็นปรปักษ์กับฝรั่งเศส แต่มุ่งจะจำกัดอำนาจของฝรั่งเศสเช่นเคย ตามมุมมองของสันนิบาต องค์การสังคมนิยมหัวรุนแรง เช่น สากลที่หนึ่ง เป็นตัวอย่างของหนึ่งในหลายภัยคุกคามสำคัญต่อเสถียรภาพและความเป็นเจ้าในภูมิภาค ด้วยเหตุผลนี้ สันนิบาตจึงคัดค้านการขยายอิทธิพลขององค์การอย่างแข็งขัน[2]

ใกล้เคียง

สันนิบาตชาติ สันนิบาตอาหรับ สันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย สันนิบาตฮันเซอ สันนิบาตดีเลียน สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ สันนิบาตบอลข่าน สันนิบาตสามจักรพรรดิ สันนิบาตอวามี สันนิบาตสาวเยอรมัน