ความปลอดภัยทางอาหาร ของ สาธารณสุขในประเทศไทย

การปนเปื้อนจุลชีพในอาหารริมทางที่ถูกทิ้งไว้กลางแจ้งและถนนเปื้อนฝุ่น ตลอดจนการปนเปื้อนอาหารที่เก็บไว้ด้วยสารฆ่าสัตว์รังควานต้องห้ามหรือเป็นพิษ ตลอดจนผลิตภัณฑ์อาหารปลอม[8]

ในเดือนกรกฎาคม 2555 กลุ่มผลประโยชน์ผู้บริโภคเรียกร้องให้ห้ามสารฆ่าสัตว์รังควานเป็นพิษสี่ชนิดที่พบทั่วไปในพืชผัก บริษัทเคมีกำลังขอให้เพิ่มเข้าพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เพื่อให้ยังสามารถใช้ต่อไปได้ รวมทั้งมะม่วงส่งออกไปประเทศกำลังพัฒนาที่สั่งห้ามใช้สารแล้ว[8] ในปี 2547 มหาวิทยาลัยขอนแก่นดำเนินการศึกษาว่าประเทศไทยควรห้ามสารฆ่าสัตว์รังควาน 155 ชนิด โดยจัด 14 ชนิดว่าเร่งด่วน ได้แก่ คาร์โบฟูแรน, เมทิลโบรไมด์, ไดคลอร์วอส, แลมบ์ดา-ไซฮาโลทริน, เมทิดาไทออน-เมทิล, โอเมโทเอต, ซีตาไซเปอร์เมทริน, เอ็นโดซัลแฟนซัลเฟต, อัลไดคาร์บ, เอซินฟอส-เมทิล, เมโทซีคลอร์ และพาราควอต[9]

ใกล้เคียง

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949) สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณสมบัติ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 สาธารณรัฐเท็กซัส สาธารณรัฐโซเวียตฮังการี สาธารณรัฐเขมร สาธารณรัฐประชาชนยูเครน

แหล่งที่มา

WikiPedia: สาธารณสุขในประเทศไทย http://www.bangkokpost.com/archive/cancer-causing-... http://www.bangkokpost.com/news/general/1140349/th... http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/1154265... http://nationmultimedia.com/2008/11/25/national/na... http://www.prachatai.com/english/node/6750 http://www.straitstimes.com/asia/se-asia/antibioti... http://hivinsite.ucsf.edu/global?page=cr08-th-00 http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/profiles/Thailand.pdf http://www.who.int/countryfocus/cooperation_strate... http://www.who.int/gho/countries/tha.pdf