ลักษณะของสำนักพิมพ์ที่ล่าเหยื่อ ของ สำนักพิมพ์แบบเปิดที่ล่าเหยื่อ

ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับสำนักพิมพ์แบบเปิดที่ล่าเหยื่อมีดังนี้ 

  • รับบทความด้วยความรวดเร็วโดยผ่านการประเมินอิสระน้อยมาก หรือไม่ผ่านการประเมินคุณภาพเลย[17] ทั้งยังรับงามพิมพ์ที่เป็นการหลอกลวงและไม่มีมูล[7][18][19]
  • แจ้งให้ทราบถึงค่าใช้จ่ายในการตีพิมพ์หลังจากที่บทความถูกรับแล้ว[17]
  • มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องให้นักวิชาการส่งบทความหรือเข้าร่วมคณะบรรณาธิการ[4]
  • การลงชื่อนักวิชาการให้อยู่ในคณะบรรณาธิการโดยไม่ได้ขออนุญาต[1][20] และไม่อนุญาตให้ลาออก[1][21]
  • มีการใส่ชื่อนักวิชาการปลอมลงในคณะบรรณาธิการ [22]
  • ลอกเลียนแบบชื่อหรือรูปแบบเว็ปไซต์ของวารสารทางวิชาการที่มีชื่อเสียงมากกว่า[21]
  • มีการอ้างอิงแบบหลอกลวงเกี่ยวกับการดำเนินการตีพิมพ์ เช่น ระบุที่ตั้งผิดๆ[1]
  • การใช้เลขมาตรฐานสากลสำหรับนิตยสารอย่างไม่เหมาะสม[1]
  • ใช้ปัจจัยกระทบปลอม หรือไม่มีเลย[23][24] 

ใกล้เคียง

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย) สำนักพระราชวัง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานสอบสวนกลาง สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย) สำนักงานราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ สำนักข่าวไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ