สุริยุปราคา_18_สิงหาคม_พ.ศ._2411
สุริยุปราคา_18_สิงหาคม_พ.ศ._2411

สุริยุปราคา_18_สิงหาคม_พ.ศ._2411

ปรากฏการณ์สุริยุปราคาซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงคำนวณปรากฏการณ์ดังกล่าวไว้ล่วงหน้าถึง2ปี[1] และเสด็จไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาครั้งนี้กับราชอาคันตุกะยังบ้านหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จนได้ชื่อว่า "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" ส่วนประชาคมดาราศาสตร์สากลได้เรียกสุริยุปราคาในครั้งนี้ว่า "King of Siam's eclipse" (อุปราคาของพระเจ้ากรุงสยาม)[1] เหตุการณ์ดังกล่าวยังนำไปสู่การค้นพบธาตุฮีเลียม โดย ปิแอร์ จองส์ชอง กัปตันบุลล็อกได้สเก็ตช์ลักษณะของโคโรนาของดวงอาทิตย์ ขณะสังเกตการณ์จากทะเลเซเลบีส[2]

สุริยุปราคา_18_สิงหาคม_พ.ศ._2411

แซรอส 133
แกมมา -0.0443
ความส่องสว่าง 1.0756
บดบังมากที่สุด 5:12:10
ความกว้างของเงามืด 245 กิโลเมตร
บัญชี # (SE5000) 9207
ระยะเวลา 6 นาที 45 วินาที
พิกัด 10.6N 102.2E

ใกล้เคียง

สุริยุปราคา สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ สุริยนต์ อรุณวัฒนกูล สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567 สุริยนันทนา สุจริตกุล สุริยา ชินพันธุ์ สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 สุริยะใส กตะศิลา สุริยุปราคา 21 มิถุนายน พ.ศ. 2563

แหล่งที่มา

WikiPedia: สุริยุปราคา_18_สิงหาคม_พ.ศ._2411 http://books.google.com/books?id=uE5AAAAAIAAJ&pg=P... http://www.wired.com/thisdayintech/2009/08/dayinte... http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k3024c.image.... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE1801-1990.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap.... http://std.kku.ac.th/4850500553/zola/main.htm http://siweb.dss.go.th/sci200/item1/result.html http://thaiastro.nectec.or.th/library/kingmongkut_...