ตัวชี้วัด ของ อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียนการสอน และด้านวิจัย โดยอาศัยตัวชี้วัด[2] ดังต่อไปนี้

ตัวบ่งชี้ด้านการเรียนการสอน

  • Student ratio (20%) คำนวณจาก
    • จำนวนนักศึกษาทุกระดับ ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
  • Faculty resources (20%) คำนวณจาก
    • จำนวนอาจารย์วุฒิปริญญาเอก ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • จำนวนศาสตราจารย์ ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • จำนวนรางวัลระดับชาติและนานาชาติ
    • จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ต่อ จำนวนหลักสูตรทั้งหมด
  • Financial resources (20%) คำนวณจาก
    • งบประมาณแผ่นดินทุกหมวด+เงินรายได้จากการจัดการเรียนการสอนนอกเวลา ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • งบประมาณแผ่นดินทุกหมวด+เงินรายได้จากการจัดการเรียนการสอนนอกเวลา ต่อ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด
    • งบห้องสมุดต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด
    • ขนาดของแบนด์วิดท์ต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด
  • Internationality (10%) คำนวณจาก
    • จำนวนนักศึกษาต่างชาติ ต่อนักศึกษาทั้งหมด
    • จำนวนอาจารย์ต่างชาติ ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
  • Quality of Education (10%) คำนวณจาก
    • ศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลระดับชาติ/นานาชาติ
    • นักศึกษาปัจจุบันที่ได้รับรางวัลระดับชาติ/นานาชาติ

ตัวบ่งชี้ด้านการวิจัย (Research Ranking Indicator, RRI)

  • ด้านแหล่งทุน (20%) คำนวณจาก
    • เงินรายได้ที่จัดสรรเพื่อการวิจัย+เงินวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • เงินรายได้ที่จัดสรรเพื่อการวิจัย ต่อ งบประมาณแผ่นดินทุกหมวด
    • เงินวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกทั้งในและต่างประเทศ ต่อ งบประมาณแผ่นดินทุกหมวด
    • เงินวิจัยจากอุตสาหกรรม, กระทรวง, จังหวัด ต่อ งบประมาณแผ่นดินทุกหมวด
  • ด้านบุคลากร (20%) คำนวณจาก
    • จำนวน (อาจารย์+นักวิจัย) วุฒิปริญญาเอก ต่อ จำนวน (อาจารย์+นักวิจัย) ทั้งหมด
    • จำนวนศาสตราจารย์ ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • จำนวนรางวัลระดับชาติและนานาชาติ*
    • จำนวน (อาจารย์+นักวิจัย) ที่เป็นสมาชิกคณะบรรณาธิการ ของวารสารฐานข้อมูลสากล
  • ด้านผลงาน คิดเป็น (45%) คำนวณจาก
    • จำนวนสิทธิบัตรในประเทศ
    • จำนวนสิทธิบัตรในต่างประเทศ
    • จำนวนบทความในฐานข้อมูลสากล ต่อ จำนวน (อาจารย์+นักวิจัย) ทั้งหมด
    • เงินรายได้ที่จัดสรรเพื่อการวิจัย+เงินทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ต่อ จำนวนบทความทั้งหมด
    • จำนวนบทความในฐานข้อมูล ISI ที่ (อาจารย์+นักวิจัย) เป็นผู้วิจัยหลัก ต่อ จำนวนบทความในฐานข้อมูล ISI
    • จำนวนครั้งที่บทความในฐานข้อมูล ISI ได้รับการอ้างอิง ต่อ จำนวนบทความในฐานข้อมูล ISI (ย้อนหลัง 5 ปี)
    • จำนวนหนังสือหรือตำราที่เขียนเป็นภาษาต่างประเทศที่ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์
  • ด้านบัณฑิตศึกษา (15%) คำนวณจาก
    • จำนวนนักศึกษา ป. เอกที่รับเข้าศึกษา ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • จำนวนบัณฑิต ป. เอกที่จบการศึกษา ต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
    • จำนวนนักศึกษา ป. เอก ที่ได้รับทุน คปก. หรือเทียบเท่า ต่อ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด

ใกล้เคียง

อันดับสัตว์ฟันแทะ อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย อันดับกบ อันดับมหาเศรษฐีโลก อันดับมหาวิทยาลัยไทย อันดับโลกเอฟไอวีบี อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อันดับโลกฟีฟ่า อันดับโลกหญิงฟีฟ่า อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา

แหล่งที่มา

WikiPedia: อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา http://www.komchadluek.net/2006/09/01/a001_43103.p... http://www2.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID... http://www.matichon.co.th/breaking-news/breaking-n... http://www.matichon.co.th/khaosod/khaosod_detail.p... http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail... http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail... http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail... http://www.ranking.mua.go.th/ http://www.ranking.mua.go.th/2005/v1/release-displ...