การแบ่งเขตการปกครอง ของ อำเภอยะหริ่ง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอยะหริ่งแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 18 ตำบล 81 หมู่บ้าน ได้แก่

1.ตะโละ(Talo)5 หมู่บ้าน10.หนองแรต(Nong Raet)6 หมู่บ้าน
2.ตะโละกาโปร์(Talo Kapo)5 หมู่บ้าน11.ปิยามุมัง(Piya Mumang)5 หมู่บ้าน
3.ตันหยงดาลอ(Tanyong Dalo)5 หมู่บ้าน12.ปุลากง(Pula Kong)4 หมู่บ้าน
4.ตันหยงจึงงา(Tanyong Chuengnga)2 หมู่บ้าน13.บาโลย(Baloi)4 หมู่บ้าน
5.ตอหลัง(Tolang)3 หมู่บ้าน14.สาบัน(Saban)5 หมู่บ้าน
6.ตาแกะ(Ta Kae)4 หมู่บ้าน15.มะนังยง(Manang Yong)5 หมู่บ้าน
7.ตาลีอายร์(Tali-ai)4 หมู่บ้าน16.ราตาปันยัง(Rata Panyang)5 หมู่บ้าน
8.ยามู(Yamu)5 หมู่บ้าน17.จะรัง(Charang)7 หมู่บ้าน
9.บางปู(Bang Pu)3 หมู่บ้าน18.แหลมโพธิ์(Laem Pho)4 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอยะหริ่งประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 18 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลตันหยง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลมะนังยง
  • เทศบาลตำบลบางปู ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางปูทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลยะหริ่ง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลยามู
  • เทศบาลตำบลตอหลัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตอหลังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตะโละและตำบลปุลากงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงดาลอ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตันหยงดาลอทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตาแกะทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตาลีอายร์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตาลีอายร์ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลยามู ครอบคลุมพื้นที่ตำบลยามู (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแรต ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองแรตทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปิยามุมังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบาโลย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตันหยงจึงงาและตำบลบาโลยทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสาบันทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลมะนังยง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลตันหยง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลราตาปันยัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลราตาปันยังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจะรังทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมโพธิ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแหลมโพธิ์ทั้งตำบล


อำเภอ
ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์
เศรษฐกิจ
คมนาคม
สังคม
การศึกษา
วัฒนธรรม
กีฬา
การเมือง
คุณภาพชีวิต
บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของประเทศไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย