1990s ของ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

1990

มาร์ส พาร์ทไฟน์เดอร์ – ลงจอดบนดาวอังคาร และ รถสำรวจภาคพื้นดินของดาวอังคารคันแรก

1991

  • Yohkoh (Solar-A) – 30 August 1991 – สำรวจดวงอาทิตย์

1992

  • Mars Observer – 25 กันยายน 1992 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (การติดต่อหายไป)

1994

  • Clementine – 25 มกราคม 1994 – โคจรรอบดวงจันทร์/พยายามโคจรผ่านดาวเคราะห์น้อย
  • WIND – 1 พฤศจิกายน 1994 – สำรวจลมสุริยะ

1995

  • SOHO – 2 ธันวาคม 1995 – สำรวจดวงอาทิตย์

1996

  • เนียร์ ชูเมกเกอร์ – 17 กุมภาพันธ์ 1996 – โคจรรอบอีรอส, โคจรผ่านดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกครั้งแรก, โคจรรอบดาวเคราะห์น้อยครั้งแรก และ ลงจอดบนดาวเคราะห์น้อยครั้งแรก
  • Mars Global Surveyor – 7 พฤศจิกายน 1996 – โคจรรอบดาวอังคาร
  • Mars 96 – 16 พฤศจิกายน 1996 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร/ลงจอด (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • Mars Pathfinder – 4 ธันวาคม 1996 – ลงจอดบนดาวอังคาร และ เป็นรถสำรวจดาวเคราะห์คันแรก

1997

แคสซินี–ไฮเกนส์ – โคจรรอบดาวเสาร์ครั้งแรก และ ลงจอดที่ไททันเป็นครั้งแรก
  • ACE – 25 สิงหาคม 1997 – สำรวจลมสุริยะและ"สภาพอากาศในอวกาศ"
  • แคสซินี–ไฮเกนส์ – 15 ตุลาคม 1997 – โคจรรอบดาวเสาร์ครั้งแรกและลงจอดในเขตดาวเคราะห์ชั้นนอกเป็นครั้งแรก
  • AsiaSat 3/HGS-1 – 24 ธันวาคม 1997 – โคจรผ่านดวงจันทร์

1998

  • Lunar Prospector – 7 มกราคม 1998 – โคจรรอบดวงจันทร์
  • Nozomi (probe) (also known as Planet-B) – 3 กรกฎาคม 1998 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ล้มเหลวที่จะเข้าสู่จากวงโคจรของดาวอังคาร)
  • Deep Space 1 (DS1) – 24 ตุลาคม 1998 – โคจรผ่านดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง
  • – 20 พฤศจิกายน 1998 – สถานีอวกาศนานาชาติ
  • Mars Climate Orbiter – 11 ธันวาคม 1998 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ผิดพลาดในตำแหน่งที่เข้าสู่วงโคจรดาวอังคาร)

1999

  • Mars Polar Lander/Deep Space 2 (DS2) – 3 มกราคม 1999 – พยายามลงจอดบนดาวอังคาร/penetrators (การติดต่อหายไป)
  • Stardust – 7 กุมภาพันธ์ 1999 – ส่งตัวอย่างของดาวหางกลับมาครั้งแรก – กลับมาในวันที่ 15 มกราคม 2006

ใกล้เคียง

เส้นเวลาของศาสนาพุทธ เส้นเวลาสงครามอิสราเอล–ฮะมาส พ.ศ. 2566 เส้นเวลาการระบาดทั่วของโควิด-19 เส้นเวลาของอนาคตไกล เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้ เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ เส้นเวลาของบิกแบง เส้นเวลาของเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ http://www.chinadaily.com.cn/opinion/2009-08/15/co... http://military.china.com/zh_cn/news/568/20060214/... http://www.hindu.com/thehindu/holnus/0082009011214... http://www.mentallandscape.com/C_Catalog.htm http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/ http://voyager.jpl.nasa.gov/where/index.html http://solarsystem.nasa.gov/missions/future1.cfm http://en.rian.ru/russia/20070831/75959612.html http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-1357... http://www.guardian.co.uk/world/feedarticle/974281...