1980s ของ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

ก็อตโต – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1981

  • เวเนรา 13 – 30 ตุลาคม 1981 – โคจรผ่านดาวศุกร์และลงจอด
  • เวเนรา 14 – 4 พฤศจิกายน 1981 – โคจรผ่านดาวศุกร์และลงจอด

1983

  • เวเนรา 15 – 2 มิถุนายน 1983 – โคจรรอบดาวศุกร์
  • เวเนรา 16 – 7 มิถุนายน 1983 – โคจรรอบดาวศุกร์

1984

  • เวกา 1 – 15 ธันวาคม 1984 – โคจรผ่านดาวศุกร์, ลงจอดและได้สร้างบอลลูน เพื่อลอยตัวไปสู่การโคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • เวกา 2 – 21 ธันวาคม 1984 – โคจรผ่านดาวศุกร์, ลงจอดและได้สร้างบอลลูน เพื่อลอยตัวไปสู่การโคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1985

กาลิเลโอ – ภารกิจสู่ ดาวพฤหัสบดี
  • ซะกิกะเคะ – 7 มกราคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • ก็อตโต – 2 กรกฎาคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • ซุยเซอิ (Planet-A) – 18 สิงหาคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1986

  • เมียร์ – 20 กุมภาพันธ์ 1986 – สถานีอวกาศแบบแยกส่วนแห่งแรก (เสร็จ 1996)

1988

  • โฟบอส 1 – 7 กรกฎาคม 1988 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร/ลงจอดบนโฟบอส (สูญเสียการติดต่อ)
  • โฟบอส 2 – 12 กรกฎาคม 1988 – โคจรรอบดาวอังคาร/พยายามลงจอดบนโฟบอส (สูญเสียการติดต่อ)

1989

ใกล้เคียง

เส้นเวลาของศาสนาพุทธ เส้นเวลาสงครามอิสราเอล–ฮะมาส พ.ศ. 2566 เส้นเวลาการระบาดทั่วของโควิด-19 เส้นเวลาของอนาคตไกล เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้ เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ เส้นเวลาของบิกแบง เส้นเวลาของเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ http://www.chinadaily.com.cn/opinion/2009-08/15/co... http://military.china.com/zh_cn/news/568/20060214/... http://www.hindu.com/thehindu/holnus/0082009011214... http://www.mentallandscape.com/C_Catalog.htm http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/ http://voyager.jpl.nasa.gov/where/index.html http://solarsystem.nasa.gov/missions/future1.cfm http://en.rian.ru/russia/20070831/75959612.html http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-1357... http://www.guardian.co.uk/world/feedarticle/974281...