1970s ของ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ


ไพโอเนียร์ 10 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรกมารีนเนอร์ 10 – โคจรผ่านดาวพุธเป็นครั้งแรกวอยเอเจอร์ 2 – โคจรผ่านดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนเป็นครั้งแรก

1970

  • อะพอลโล 13 – 11 เมษายน 1970 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรผ่านดวงจันทร์และกลับมายังโลก (แต่ตั้งใจจะส่งขึ้นไปลงจอดบนดวงจันทร์แล้วยกเลิก)
  • เวเนรา 7 – 17 สิงหาคม 1970 – ลงจอดบนดาวศุกร์ครั้งแรก
  • คอสมอส 359 – 22 สิงหาคม 1970 – พยายามส่งยานสำรวจลงดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • ลูนา 16 – 12 กันยายน 1970 – หุ่นยนต์ตัวแรกที่เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์
  • เซินด์ 8 – 20 ตุลาคม 1970 – โคจรผ่านดวงจันทร์แล้วกลับมายังโลก
  • ลูนา 17/ลูโนโฮด 1 – 10 พฤศจิกายน 1970 – รถสำรวจภาคพื้นดินของดวงจันทร์คันแรก

1971

  • อะพอลโล 14 – 31 มกราคม 1971 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปพร้อมกับยานอวกาศเพื่อลงจอดบนดวงจันทร์
  • ซัลยุต 1 – 19 เมษายน 1971 – สถานีอวกาศแห่งแรก
  • คอสมอส 419 – 10 พฤษภาคม 1971 – พยายามจะโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • มาร์ส 2 – 19 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังตารและพยายามลงจอด; เกิดการพุ่งชนดาวอังคารครั้งแรก
  • มาร์ส 3 – 28 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังคาร, ลงจอดบนดาวอังคารครั้งแรก (แต่สัญญาณหายไปหลังจากลงจอด 14.5 วินาที) และ สำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคารได้เป็นครั้งแรก
  • มารีนเนอร์ 9 – 30 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังคารเป็นครั้งแรก
  • อะพอลโล 15 – 26 กรกฎาคม 1971 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์; ครั้งแรกที่รถโรเวอร์อยู่บนดวงจันทร์ตลอด
  • ลูนา 18 – 2 กันยายน 1971 – พยายามส่งตัวอย่างกลับมา (แต่เข้าชนกับดวงจันทร์)
  • ลูนา 19 – 28 กันยายน 1971 – โคจรรอบดวงจันทร์

1972

  • ลูนา 20 – 14 กุมภาพันธ์ 1972 – หุ่นยนต์เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์
  • ไพโอเนียร์ 10 – 3 มีนาคม 1972 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก
  • เวเนรา 8 – 27 มีนาคม 1972 – ลงจอดบนดาวศุกร์
  • คอสมอส 482 – 31 มีนาคม 1972 – พยายามส่งยานสำรวจลงดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • อะพอลโล 16 – 16 เมษายน 1972 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์
  • อะพอลโล 17 – 7 ธันวาคม 1972 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์เป็นครั้งสุดท้าย

1973

  • ลูนา 21/ลูโนโฮด 2 – 8 มกราคม 1973 – ส่งรถสำรวจภาคพื้นดินของดวงจันทร์ไปสำรวจ
  • ไพโอเนียร์ 11 – 5 เมษายน 1973 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี และ โคจรผ่านดาวเสาร์เป็นครั้งแรก
  • สกายแล็บ – 14 พฤษภาคม 1973 – สถานีอวกาศแห่งแรกของอเมริกา
  • เอ็กซ์พลอเรอร์ 49 (RAE-B) – 10 มิถุนายน 1973 – โคจรรอบดวงจันทร์/เป็นวิทยุดาราศาสตร์
  • มาร์ส 4 – 21 กรกฎาคม 1973 – โคจรผ่านดาวอังคาร (หลังจากที่พยายามให้ลงจอดบนดาวอังคารแต่ไม่สำเร็จ)
  • มาร์ส 5 – 25 กรกฎาคม 1973 – โคจรรอบดาวอังคาร
  • มาร์ส 6 – 5 สิงหาคม 1973 – โคจรรอบดาวอังคาร และพยายามลงจอดด้วย (แต่ล้มเหลวเพราะเกิดความเสียหายขณะลงจอด)
  • มาร์ส 7 – 9 สืงหาคม 1973 – โคจรผ่านดาวอังคาร และพยายามลงจอด (missed Mars)
  • มารีนเนอร์ 10 – 4 พฤศจิกายน 1973 – โคจรผ่านดาวศุกร์ และ โคจรผ่านดาวพุธครั้งแรก

1974

  • ลูนา 22 – 2 มิถุนายน 1974 – โคจรรอบดวงจันทร์
  • ลูนา 23 – 28 ตุลาคม 1974 – พยายามส่งตัวอย่างกลับมา (แต่ล้มเหลวเพราะเกิดความเสียหายขณะลงจอด)
  • เฮลิออส-เอ – 10 ธันวาคม 1974 – สำรวจดวงอาทิตย์

1975

  • เวเนรา 9 – 8 มิถุนายน 1975 – โคจรรอบดาวศุกร์ครั้งแรก และลงจอด; ยานลำนี้ได้ถ่ายภาพพื้นผิวของดาวศุกร์เป็นภาพแรก
  • เวเนรา 10 – 14 มิถุนายน 1975 – โคจรรอบดาวศุกร์และลงจอด
  • ไวกิง 1 – 20 สิงหาคม 1975 – โคจรรอบดาวอังคารและลงจอด; การลงจอดพร้อมส่งข้อมูลกลับมาครั้งแรก และ ได้ภาพพื้นผิวของดาวศุกร์เป็นภาพแรก
  • ไวกิง 2 – 9 กันยายน 1975 – โคจรรอบดาวอังคารและลงจอด

1976

  • เฮลิออส-บี – 15 มกราคม 1976 – สำรวจดวงอาทิตย์, และสร้างสถิติยานอวกาศที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด (0.29 AU)
  • ลูนา 24 – 9 สิงหาคม 1976 – หุ่นยนต์เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์

1977

  • วอยเอจเจอร์ 2 – 20 สิงหาคม 1977 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี/ดาวเสาร์/ดาวยูเรนัสครั้งแรก/ ดาวเนปจูนครั้งแรก
  • วอยเอเจอร์ 1 – 5 กันยายน 1977 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี/ดาวเสาร์ และได้รับสถิติว่าเป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้วไปได้ไกลที่สุด – ปัจจุบัน (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เวลา 11:00 น.) อยู่ที่ 19,025,599,995 กิโลเมตรจากโลก หรือ ประมาณ 127.178283 AU [1]

1978

ใกล้เคียง

เส้นเวลาของศาสนาพุทธ เส้นเวลาสงครามอิสราเอล–ฮะมาส พ.ศ. 2566 เส้นเวลาการระบาดทั่วของโควิด-19 เส้นเวลาของอนาคตไกล เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้ เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดาวบริวารในระบบสุริยะ เส้นเวลาของบิกแบง เส้นเวลาของเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ http://www.chinadaily.com.cn/opinion/2009-08/15/co... http://military.china.com/zh_cn/news/568/20060214/... http://www.hindu.com/thehindu/holnus/0082009011214... http://www.mentallandscape.com/C_Catalog.htm http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/ http://voyager.jpl.nasa.gov/where/index.html http://solarsystem.nasa.gov/missions/future1.cfm http://en.rian.ru/russia/20070831/75959612.html http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-1357... http://www.guardian.co.uk/world/feedarticle/974281...