เอ็มอาร์ที

ขบวนรถ ซีเมนส์ โมดูลาร์เมโทร (EMU-IBL)
จำนวน 57 ตู้  : ขบวนละ 3 ตู้
ซีเมนส์ อินสไปโร (EMU-BLE)
จำนวน 105 ตู้ : ขบวนละ 3 ตู้
เจเทรค ซัสติน่า (S24-EMU)
จำนวน 63 ตู้ : ขบวนละ 3 ตู้
อัลสตอม อินโนเวีย โมโนเรล 300 (YL-EMU)
จำนวน 120 ตู้ : ขบวนละ 4 ตู้
อัลสตอม อินโนเวีย โมโนเรล 300 (PL-EMU)
จำนวน 168 ตู้ : ขบวนละ 4 ตู้
รูปแบบ รถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดิน
ระบบจ่ายไฟ รางที่สาม
เจ้าของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
จำนวนสถานี 179 (ทั้งหมด)
107 (เปิดให้บริการ)
72 (โครงการ)
ผู้โดยสารต่อวัน 287,000[1]
ความเร็ว 80 km/h (50 mph)
ส่วนต่อขยายล่าสุด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (-1 ปีก่อน) (สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี - สถานีมีนบุรี)
เส้นทาง 6 (ทั้งหมด)
4 (เปิดให้บริการ)
2 (โครงการ)
เปิดเมื่อ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 (19 ปีก่อน)
ปีที่เริ่ม พ.ศ. 2540
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, สมุทรปราการ และสมุทรสาคร
ชื่ออื่น รถไฟฟ้าเอ็มอาร์ที
รางกว้าง สายสีน้ำเงิน สายสีม่วง
1,435 mm (4 ft 8 1⁄2 in) สแตนดาร์ดเกจ
สายสีเหลือง สายสีชมพู
Straddle-beam Monorail มาตรฐาน ALWEG
ระยะทาง 99.3 km (61.7 mi)

ใกล้เคียง