1939–40:ฝ่ายอักษะได้รับชัยชนะ ของ แนวรบด้านตะวันตก_(สงครามโลกครั้งที่สอง)

สงครามลวง

ดูบทความหลักที่: สงครามลวง

สงครามลวง เป็นช่วงของการเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งได้มีการทำปฏิบัติการทางทหารเพียงไม่กี่ครั้งในทวีปยุโรปกลางในเดือนที่ภายหลังจากที่เยอรมันได้บุกยึดครองโปแลนด์และก่อนยุทธการฝรั่งเศส แม้ว่าประเทศมหาอำนาจในทวีปยุโรปได้ประกาศสงครามกับอีกฝ่ายซึ่งกันและกัน แต่ทั้งสองยังไม่ได้มีเจตนาที่จะโจมตีอย่างมีนัยสำคัญและมีการสู้รบเพียงเล็กน้อยทางภาคพื้นดิน.นี่เป็นช่วงเวลาที่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสไม่ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศโปแลนด์อย่างเต็มที่ แม้ว่าจะเป็นพันธมิตรก็ตาม.

ในขณะที่กองทัพเยอรมันส่วนใหญ่กำลังสู้รบกับโปแลนด์,มีกองกำลังเยอรมันขนาดเล็กได้วางกำลังคนที่แนวซีกฟรีด (Siegfried Line),แนวป้องกันที่ได้ประจบกับชายแดนฝรั่งเศส,ที่แนวมาฌีโน (Maginot Line) ทางด้านอื่นๆของชายแดน,กองกำลังฝรั่งเศสได้เผชิญหน้ากับพวกเขา.ในขณะที่กองกำลังปฏิบัติการทางทหารของอังกฤษ (British Expeditionary Forces หรือ B.E.F.) และส่วนอื่นๆของกองทัพฝรั่งเศสได้สร้างแนวป้องกันตามชายแดนของเบลเยียม.มีเพียงบางท้องถิ่น,มีการสู้รบเล็กๆน้อย.กองทัพอากาศแห่งสหราชอาณาจักรได้โปรยแผ่นพับโฆษณาชวนเชื่อไปทั่วเหนือเยอรมันและกองทัพแรกของแคนาดาได้ขึ้นฝั่งในอังกฤษ,ในขณะที่ทวีปยุโรปตะวันตกอยู่ในความสงบอย่างแปลกประหลาดเป็นเวลาเจ็ดเดือน.

ในช่วงเวลาเร่งในการสร้างอาวุธใหม่,สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสได้ริเริ่มซื้ออาวุธจำนวนมากจากผู้ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการแผร่ระบาดของสงคราม.ได้มีการเสริมสร้างการผลิตด้วยตัวเอง.ฝ่ายสหรัฐอเมริกาที่ไม่ต้องการสงคราม,ได้มีส่วนร่วมต่อสัมพันธมิตรตะวันตกโดยส่วนลดขายของอุปกรณ์ทางทหารและพัสดุในการบำรุงกองทัพ.ฝ่ายเยอรมันได้พยายามในการขัดขวางการค้าขายทางเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกของฝ่ายสัมพันธมิตรบนทะเลทำให้เกิดยุทธการแห่งแอตแลนติก.

สแกนดิเนเวีย

ในขณะที่แนวรบด้านตะวันตกยังคงเงียบสงบในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1940 การสู้รบระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมัน ได้มีการเริ่มขึ้นอย่างจริงจังในการทัพนอร์เวย์ เมื่อฝ่ายเยอรมันได้เริ่มปฏิบัติการแวร์เซอร์รีบุง,เยอรมันได้บุกยึดครองเดนมาร์กและนอร์เวย์.ในการทำเช่นนี้,ฝ่ายเยอรมันจะชนะสงครามไว้ได้;ฝ่ายสัมพันธมิตรได้วางแผนที่จะยกพลขึ้นบกในสิ่งที่พวกเขาจะได้เริ่มที่จะโอบล้อมเยอรมนี,ทำการตัดการขนส่งของวัตถุดิบจากประเทศสวีเดน.อย่างไรก็ตาม,เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้จู่โจมและยกพลขึ้นบกในนอร์เวย์ภายหลังจากการยึดครองของเยอรมัน,ฝ่ายเยอรมันได้ขับไล่พวกเขาและกำจัดกองทัพนอร์เวย์,ที่กำลังหลบหนีออกนอกประเทศ,,ถึงกระนั้น, กองทัพเรือครีกซมารีเนอ,ได้ประสบความเสียหายอย่างหนักในระหว่างสองเดือนจากการสู้รบตามความต้องการในการยึดครองแผ่นดินนอร์เวย์เอาไว้ท้งหมด.

ยุทธการที่ลักเซมเบิร์ก, เนเธอร์แลนด์, เบลเยียม และฝรั่งเศส

ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1940 ฝ่ายเยอรมันได้เริ่มการสู้รบที่ฝรั่งเศส.ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก (ส่วนใหญ่ของกองทัพบกของฝรั่งเศส,เบลเยียมและอังกฤษ) ต้องพบกับความปราชัยภายใต้การรุกโจมตีของกลยุทธ์เชิงยุทธศาสตร์ที่เรียกว่า บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg-การโจมตีสายฟ้าแลบ) กองทัพส่วนใหญ่ของอังกฤษและบางส่วนของกองทัพฝรั่งเศสได้ทำการอพยพที่ดันเคิร์กไปยังแผ่นดินอังกฤษ.เมื่อการสู้รบได้ยุติลง.ทางฝ่ายเยอรมันได้เริ่มทำการพิจารณาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับวิธีจัดการกับอังกฤษ หากอังกฤษปฏิเสธที่จะยอมเจราจาต่อในการลงนามสนธิสัญญาสันติภาพ,อีกทางเลือกหนึ่งคือการรุกราน. อย่างไรก็ตาม,ครีกซมารีเนอได้รับความเสียหายอย่างหนักในนอร์เวย์และเพื่อที่จะออกคำสั่งในการพิจารณาที่จะทำการยกพลขึ้นบก,กองทัพอากาศแห่งเยอรมนี (ลุฟท์วัฟเฟอ) จะต้องมีอำนาจเหนือทางอากาศเป็นครั้งแรกหรืออำนาจสูงสุดทางอากาศ.

ใกล้เคียง

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง แนวรบยูเครนที่ 1 แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 แนวรบทะเลทราย แนวรบด้านเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง แนวรบด้านตะวันออกของสงครามกลางเมืองอเมริกา

แหล่งที่มา

WikiPedia: แนวรบด้านตะวันตก_(สงครามโลกครั้งที่สอง) http://www.canadiansoldiers.com/mediawiki-1.5.5/in... http://www.canadiansoldiers.com/mediawiki-1.5.5/in... http://www.wwii-photos-maps.com/twelfthalliedarmyg... http://www.strom.clemson.edu/publications/sg-war41... http://www.history.army.mil/brochures/centeur/cent... http://www.ibiblio.org/hyperwar/USA/COS-Biennial/C... http://www.regiments.org/about/index.htm http://www.regiments.org/wars/20ww2/eur-nw42.htm http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=1... https://books.google.com/books?id=iFEEAAAAMBAJ&pg=...