กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

อาการ เจ็บอก, การหายใจลำบาก, คลื่นไส้, รู้สึกหน้ามืด, เหงื่อออกท่วม, รู้สึกล้า[1]
สาขาวิชา หทัยวิทยา
ความชุก 15.9 ล้านครั้ง (2558)[9]
สาเหตุ มักเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ[2]
วิธีวินิจฉัย การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG), การทดสอบเลือด, การบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหัวใจ[6]
ปัจจัยเสี่ยง ความดันโลหิตสูง, การสูบบุหรี่, โรคเบาหวาน, การไม่ออกกำลังกาย, โรคอ้วน, ภาวะคอเลสเทอรอลสูงในเลือด[4][5]
ยา แอสไพริน, ไนโตรกลีเซอริน, เฮปาริน[7][8]
ภาวะแทรกซ้อน ภาวะหัวใจล้มเหลว, ภาวะหัวใจเสียจังหวะ, ช็อกเหตุหัวใจ, หัวใจหยุด[2][3]
การรักษา การถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจทางผิวหนัง, การสลายลิ่มเลือด[7]
พยากรณ์โรค STEMI โอกาสเสียชีวิต 10% (ประเทศพัฒนาแล้ว)[7]

ใกล้เคียง

กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อลายสลายตัว กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อเดลทอยด์ กล้ามเนื้อทราพีเซียส กล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิส กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส กล้ามเนื้อแอนโคเนียส