กองทัพอียิปต์
กองทัพอียิปต์

กองทัพอียิปต์

กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศในอดีต:
 สหภาพโซเวียตสงครามอาหรับ-อิสราเอล
วิกฤตการณ์คลองสุเอซ
สงครามกลางเมืองเยเมนเหนือ
สงครามหกวัน
War of Attrition
สงครามยมคิปปูร์
สงครามอ่าว
การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554
รัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556กองทัพอียิปต์ เป็นกองทัพใหญ่สุดในทวีปแอฟริกา ตะวันออกกลาง และใหญ่เป็นอันดับ 10 ของโลก ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศและกองบัญชาการป้องกันทางอากาศ นอกจากนี้ อียิปต์ยังมีกำลังกึ่งทหารขนาดใหญ่ กำลังความมั่นคงกลางอยู่ในความควบคุมของกระทรวงมหาดไทย กำลังพิทักษ์ชายแดนอียิปต์และกำลังพิทักษ์ชาติอียิปต์อยู่ในความควบคุมของกระทรวงกลาโหม

กองทัพอียิปต์

ยอดกำลังประจำการ 468,500 (อันดับที่ 10)
ยอดกำลังสำรอง 479,000
การเกณฑ์ 1-3 ปี ขึ้นอยู่กับพฤติการณ์
ประชากรที่อายุถึงขั้นรับราชการทุกปี ชาย 1,532,052 (2011[3])
ยศ ยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์
อายุเริ่มบรรจุ 18-49 ปี
แหล่งผลิตนอกประเทศ  สหรัฐ
 รัสเซีย
 ฝรั่งเศส
 จีน
 อิตาลี
 สหราชอาณาจักร
 ตุรกี
 บัลแกเรีย

ในอดีต:
 สหภาพโซเวียต

ประชากรในวัยบรรจุ ชาย 41,157,220, อายุ 18–49 ปี (2011[1])
งบประมาณ 5,850 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (2009) รวมความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐ 1,300 ล้านดอลล่าร์สหรัฐต่อปี [4]
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก Abdul Fatah al-Sisi
ประชากรฉกรรจ์ ชาย 35,305,381, อายุ 18–49 ปี (2011[2])
เหล่า กองทัพบก

กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศ

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอก Abdul Fatah al-Sisi
ประวัติ สงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามอาหรับ-อิสราเอล
วิกฤตการณ์คลองสุเอซ
สงครามกลางเมืองเยเมนเหนือ
สงครามหกวัน
War of Attrition
สงครามยมคิปปูร์
สงครามอ่าว
การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554
รัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556

เสนาธิการทหาร พลตรี Sedki Sobhi
ร้อยละต่อจีดีพี ~3.12% (2009)