รูปแบบความเครียด ของ การจัดการความเครียด

แบบฉับพลัน

ความเครียดฉับพลันเป็นรูปแบบที่สามัญที่สุดทั่วโลกเป็นการตอบสนองต่อความกดดันในอนาคตที่ใกล้จะถึงหรือในอดีตที่พึ่งผ่านแต่บ่อยครั้งกำหนดกันว่า ความเครียดเช่นนี้มีผลลบแม้ว่านี่จะจริงในบางกรณี ก็ยังมีบางกรณีที่ความเครียดชนิดนี้ในชีวิตเป็นเรื่องดีเช่น การวิ่งหรือการออกกำลังกายมองว่า เป็นตัวสร้างความเครียดแบบฉับพลันนอกจากนั้นแล้ว ประสบการณ์ที่ตื่นเต้น เช่น การนั่งรถไฟเหาะตีลังกา เป็นสิ่งที่ทำให้เครียดแต่ก็ยังสนุกมากด้วยความเครียดฉับพลันจึงเป็นแบบระยะสั้นและดังนั้นจะไม่มีโอกาสก่อความเสียหายเท่ากับความเครียดระยะยาว[14]

แบบเรื้อรัง

ความเครียดเรื้อรังไม่เหมือนกับแบบฉับพลันเพราะมันทำให้รู้สึกเหนื่อยหน่ายและสามารถกลายเป็นความเสี่ยงสุขภาพที่สำคัญถ้าคงยืนเป็นระยะเวลานานสามารถทำให้ความจำไม่ดี ทำลายความจำเกี่ยวกับสถานที่ (spatial recognition) และทำให้ไม่อยากอาหารความรุนแรงจะต่างกันในบุคคลต่าง ๆ และก็อาจจะต่างในระหว่างเพศด้วยคือ หญิงสามารถทนรับความเครียดได้นานกว่าชายโดยไม่แสดงความเปลี่ยนแปลงที่เป็นการปรับตัวผิดชายสามารถทนรับความเครียดระยะสั้นได้ดีกว่าหญิง แต่ถ้าผ่านเส้นจำกัด โอกาสเกิดปัญหาทางจิตก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว[15]

ใกล้เคียง

การจัดการความเครียด การจัดการทาลัสซีเมีย การจัดอันดับของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดเส้นทางแบบหัวหอม การจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ การจัดอันดับของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การจัดอันดับของมหาวิทยาลัยมหิดล การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล) การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: การจัดการความเครียด http://www.dailybsness.com/en-wiki/7_tips_to_preve... http://www.medscimonit.com/fulltxt.php?IDMAN=8224 http://www.psychtreatment.com/stress_management.ht... http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1207/s153271... http://humansystems.arc.nasa.gov/flightcognition/P... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1230339 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2038162 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10224513 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10333853 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11322841