การใช้งาน ของ การลงคะแนนระบบคู่ขนาน

ปัจจุบัน

การลงคะแนนระบบคู่ขนานใช้กันมากในเอเชียและบางประเทศในยุโรป[5]

ประเทศที่นั่ง (แบ่งเขต)%ที่นั่ง (สัดส่วน)%ที่นั่ง (อื่น ๆ)%
อันดอร์รา1450%1450%
รัฐกอร์โดบา (อาร์เจนตินา)2637%4463%
จอร์เจีย3020%12080%
กินี3934%7666%
ฮังการี10653%9347%
อิตาลี23237%398 (386 คนจากในอิตาลี + 12 คนจากต่างประเทศ)63%
ญี่ปุ่น28962%17638%
เกาหลีใต้25384%4716%
ลิทัวเนีย7150%70 (70 คนจากในลิทัวเนีย + 1 คนจากต่างประเทศ)50%
เม็กซิโก30060%20040%
เนปาล16560%11040%
รัฐปาเลสไตน์13250%13250%
รัสเซีย22550%225[6][7]50%
เซเนกัล10564%6036%
เซเชลส์2576%824%
ปากีสถาน27280%70 (60 คนเป็นผู้หญิง + 10 คนจากชนกลุ่มน้อย)20%
ฟิลิปปินส์24580%6120%
รัฐริโอเนโกร (อาร์เจนตินา)2248%2452%
รัฐซานฆวน (อาร์เจนตินา)1953%1747%
รัฐซานตากรุซ (อาร์เจนตินา)1458%1042%
ไต้หวัน7365%3430%6 คนสำหรับชาวพื้นเมือง5%
แทนซาเนีย[8]26467%113 (เฉพาะผู้หญิง)29%5 คนจากการเลือกตั้งทางอ้อม + 1 คนจากอัยการสูงสุด + 10 คนเลือกโดยประธานาธิบดี4%
ยูเครน22550%22550%
เวเนซุเอลา[9]11368%5131%3 คนสำหรับชาวพื้นเมือง2%
วอยวอดีนา (เซอร์เบีย)

ประเทศที่เคยใช้ระบบนี้ในอดีต

  • แอลเบเนียเคยใช้ระบบคู่ขนานในการเลือกตั้ง ค.ศ. 1996 และ ค.ศ. 1997 (ก่อนจะเปลี่ยนไปใช้ระบบสัดส่วนผสมตั้งแต่ ค.ศ. 2001 ถึง ค.ศ. 2005)[10][11]
  • บัลแกเรีย (ค.ศ. 1990 และ ค.ศ. 2009)
  • โครเอเชีย (ค.ศ. 1993–2001)
  • อิตาลี (ค.ศ. 1993–2005) โดยมีการปรับเปลี่ยน ต่อมาในการเลือกตั้ง ค.ศ. 2018 ทั้งสองสภาใช้การเลือกตั้งแบบระบบคู่ขนาน โดยมีที่นั่งจำนวนร้อยละ 62.5 จัดสรรมาจากบัญชีรายชื่อ โดยบัญชีรายชื่อยังเกี่ยวพันกับผู้สมัครในเขตเลือกตั้งซึ่งมีที่นั่งอีกร้อยละ 37.5 ซึ่งมาจากการลงคะแนนระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด โดยผู้ลงคะแนนมีเพียงคะแนนเสียงเดียวซึ่งใช้เลือกทั้งสองแบบ (แบ่งเขตและบัญชีรายชื่อพร้อมกัน)
  • ไทยเคยใช้ระบบนี้ก่อนจะเปลี่ยนเป็นระบบสัดส่วนผสมเป็นครั้งแรกในการเลือกตั้ง ค.ศ. 2019[12][13]
  • อียิปต์ (ค.ศ. 2020)
  • เกาหลีใต้ ใช้ระบบคู่ขนานในระหว่าง ค.ศ. 1988–2019 ตั้งแต่ ค.ศ. 2019 เป็นต้นมาเปลี่ยนไปใช้ระบบผสมระหว่างระบบคู่ขนานกับระบบสัดส่วนผสม โดยมีทั้งที่นั่งชดเชย (30 ที่นั่ง) และที่นั่งเสริม (17 ที่นั่ง)

ใกล้เคียง

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย การลงจอด การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2566 การลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2559 การลงคะแนนแบบคะแนนเสียงที่เหนือกว่า การลงคะแนนแบบจัดลำดับ การลงประชามติแยกซูดานใต้เป็นเอกราช พ.ศ. 2554 การลงประชามติแยกเป็นเอกราช การลงประชามติประมวลกฎหมายครอบครัวคิวบา พ.ศ. 2565

แหล่งที่มา

WikiPedia: การลงคะแนนระบบคู่ขนาน http://www.electionpassport.com/electoral-systems/... http://www.avn.info.ve/contenido/113-diputados-ser... https://asiancorrespondent.com/2016/02/the-effects... https://www.bangkokpost.com/news/politics/1605898/... https://www.nytimes.com/2013/01/03/world/europe/pu... https://www.idea.int/sites/default/files/publicati... https://web.archive.org/web/20151022023104/http://... https://www.constituteproject.org/constitution/Tan...