กะโหลกศีรษะ ของ การเปลี่ยนแปลงทางโครงกระดูกของมนุษย์เนื่องจากการเดินด้วยสองเท้า

ดูบทความหลักที่: กะโหลกศีรษะ
ภาพลายศิลป์ของกะโหลกศีรษะมนุษย์เทียบกับลิงชิมแปนซี ให้สังเกตว่าช่องทางออกของไขสันหลังเยื้องไปด้านหน้าในมนุษย์มากกว่าในลิง

กะโหลกศีรษะของมนุษย์ตั้งอย่างสมดุลอยู่บนกระดูกสันหลัง ช่องที่ไขสันหลังออกจากกะโหลก (foramen magnum) อยู่ข้างใต้กะโหลก ซึ่งทำให้น้ำหนักของศีรษะเยื้องไปทางด้านหลังของกระดูกสันหลังนอกจากนั้นแล้ว ใบหน้าที่แบนช่วยทำให้เกิดความสมดุลที่ปุ่มกระดูกท้ายทอยดังนั้น หัวจึงตั้งตรงได้โดยไม่ต้องมีสันเหนือเบ้าตา (supraorbital ridge) ที่ใหญ่และมีกล้ามเนื้อยึดที่แข็งแรง ดังที่พบในเอปผลที่เกิดก็คือ กล้ามเนื้อหน้าผากของมนุษย์ใช้เพียงเพื่อการแสดงออกของสีหน้าเท่านั้น[8] (ไม่เหมือนกับเอปหรือบรรพบุรุษมนุษย์ที่ต้องใช้กล้ามเนื้อเดียวกันในการตั้งศีรษะให้ตรง)

ใกล้เคียง

การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง การเปลี่ยนชื่อนครในประเทศอินเดีย การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย การเปรียบเทียบยศทหารเกาหลี การเป็นพิษจากพาราเซตามอล การเปรียบเทียบวิธีคุมกำเนิด การเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัล การเปลี่ยนแปลงทางโครงกระดูกของมนุษย์เนื่องจากการเดินด้วยสองเท้า การเปลี่ยนสัณฐาน การเป็นพิษจากไซยาไนด์

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเปลี่ยนแปลงทางโครงกระดูกของมนุษย์เนื่องจากการเดินด้วยสองเท้า //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/15566947 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17540902 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20855304 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/2929741 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/3212438 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2981953 //doi.org/10.1002%2Fajpa.1330780306 //doi.org/10.1016%2Fj.jhevol.2003.08.006 //doi.org/10.1016%2Fj.jhevol.2004.08.007 //doi.org/10.1038%2Fscientificamerican1188-118