การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง

การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง

ในทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง หรือ การแจกแจงเอกรูปวิยุต (discrete uniform distribution) เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นอย่างเป็นระบบโดยที่น่าจะสังเกตค่าจำนวนจำกัดได้เท่า ๆ กัน ทุกค่าจำนวน n มีความน่าจะเป็นเท่ากัน 1/n

การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง

ฟังก์ชันค้ำจุน: k ∈ { a , a + 1 , … , b − 1 , b } {\displaystyle k\in \{a,a+1,\dots ,b-1,b\}\,}
ความเบ้: 0 {\displaystyle 0\,}
pmf: 1 n {\displaystyle {\frac {1}{n}}}
ตัวแปรเสริม: a ∈ { … , − 2 , − 1 , 0 , 1 , 2 , … } {\displaystyle a\in \{\dots ,-2,-1,0,1,2,\dots \}\,}
b ∈ { … , − 2 , − 1 , 0 , 1 , 2 , … } , b ≥ a {\displaystyle b\in \{\dots ,-2,-1,0,1,2,\dots \},b\geq a}
n = b − a + 1 {\displaystyle n=b-a+1\,}
มัธยฐาน: a + b 2 {\displaystyle {\frac {a+b}{2}}\,}
เอนโทรปี: ln ⁡ ( n ) {\displaystyle \ln(n)\,}
ค่าเฉลี่ย: a + b 2 {\displaystyle {\frac {a+b}{2}}\,}
สัญกรณ์: U { a , b } {\displaystyle {\mathcal {U}}\{a,b\}} หรือ u n i f { a , b } {\displaystyle \mathrm {unif} \{a,b\}}
ความโด่งส่วนเกิน: − 6 ( n 2 + 1 ) 5 ( n 2 − 1 ) {\displaystyle -{\frac {6(n^{2}+1)}{5(n^{2}-1)}}\,}
ความแปรปรวน: ( b − a + 1 ) 2 − 1 12 {\displaystyle {\frac {(b-a+1)^{2}-1}{12}}}
cf: e i a t − e i ( b + 1 ) t n ( 1 − e i t ) {\displaystyle {\frac {e^{iat}-e^{i(b+1)t}}{n(1-e^{it})}}}
cdf: ⌊ k ⌋ − a + 1 n {\displaystyle {\frac {\lfloor k\rfloor -a+1}{n}}}
ฐานนิยม: N/A
mgf: e a t − e ( b + 1 ) t n ( 1 − e t ) {\displaystyle {\frac {e^{at}-e^{(b+1)t}}{n(1-e^{t})}}\,}

ใกล้เคียง

การแจกจ่ายลินุกซ์ การแจกแจงปรกติ การแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน การแจกแจงความน่าจะเป็น การแจกแจง การแจกแจงปรกติหลายตัวแปร การแจกแจงแบบเลขชี้กำลัง การแจกแจงแบร์นุลลี การแจกแจงไคกำลังสอง การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง