การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ

การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ (อังกฤษ: Music as a coping strategy) เป็นการใช้ดนตรี ไม่ว่าจะโดยฟังหรือเล่น เพื่อลดอาการของความเครียดทางกายใจ และลดตัวความเครียดเองด้วยการใช้ดนตรีรับมือกับความเครียดเป็นตัวอย่างกลยุทธ์การรับมือที่เพ่งอารมณ์ โดยมองว่าเป็นการปรับตัวที่ดี (adaptive) เพราะลดหรือกำจัดความรู้สึกที่เกิดขึ้นตอบสนองต่อความเครียด ไม่ใช่จัดการตัวก่อความเครียดโดยตรงผู้ที่สนับสนุนการบำบัดเช่นนี้อ้างว่า การใช้ดนตรีช่วยลดระดับความเครียดที่คนไข้รู้สึก และยังลดลักษณะที่วัดได้ทางชีวภาพ เช่น ระดับฮอร์โมนอีพิเนฟรินและคอร์ติซอล ซึ่งหลั่งเมื่อเครียดอีกด้วย[1]นอกจากนั้นแล้ว โปรแกรมบำบัดด้วยดนตรียังมีหลักฐานที่ทำซ้ำได้ว่า ช่วยลดอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยระยะยาว[2]

ใกล้เคียง

การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ การใช้เวทมนตร์คาถาในยุโรป การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ การใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเอง การใช้ความรุนแรงกับแฟน การให้วัคซีน การใช้ยาเกินขนาด การใช้ความเย็นกระตุ้นให้ออกดอก การใช้เหตุผลโดยเข้าข้าง การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

แหล่งที่มา

WikiPedia: การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ http://trauma.blog.yorku.ca/2011/12/families-copin... http://www.cancercenter.com/discussions/blog/music... http://jpo.sagepub.com/content/12/1/3.full.pdf+htm... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/0... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://digitalcommons.liberty.edu/cgi/viewcontent.... http://www.med.unc.edu/www/newsarchive/2011/june/m... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11382277 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19572784 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/7963281