การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้
การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้

การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้

การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ (อังกฤษ: argument from ignorance โดย ignorance หมายถึงความไร้หลักฐานขัดแย้ง จากภาษาละตินว่า argumentum ad ignorantiam)เป็นเหตุผลวิบัติอรูปนัยโดยระบุว่าประพจน์หนึ่ง ๆ จริงเพราะยังไม่ได้พิสูจน์ว่าเท็จ หรือว่าประพจน์หนึ่ง ๆ เป็นเท็จเพราะยังไม่ได้พิสูจน์ว่าจริง นี่เป็นรูปแบบของทวิบถเท็จอย่างหนึ่ง เพราะไม่ได้พิจารณาว่า อาจจะยังไม่ได้ตรวจสอบอย่างเพียงพอเพื่อพิสูจน์ประพจน์นั้นว่าเป็นจริงหรือเท็จ[1]หรือว่าไม่สามารถจะรู้คำตอบได้ หรือว่าจะรู้ได้ในอนาคตเท่านั้น หรือว่าไม่ใช่จริงหรือเท็จทั้งหมด[2]ในการอภิปราย การให้เหตุผลเช่นนี้บางครั้งเป็นการถีบส่งภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงไปให้แก่อีกฝ่ายนักปรัชญาชาวอังกฤษจอห์น ล็อก น่าจะเป็นผู้บัญญัติคำภาษาอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17[3][4]

ใกล้เคียง

การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม การให้เหตุผลแบบจารนัย การให้วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ การให้วัคซีน การให้เหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ การให้เหตุผลเป็นวง การให้แสงเงา

แหล่งที่มา

WikiPedia: การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ https://books.google.com/books?id=I7a7BQAAQBAJ&pg=... https://books.google.com/books?id=7JGkCw43fw8C http://philosophy.lander.edu/logic/ignorance.html https://web.archive.org/web/20090430170946/http://... https://web.archive.org/web/20210615144706/https:/... https://www.worldcat.org/oclc/30624864 https://www.worldcat.org/oclc/862726425 http://www3.nd.edu/~afreddos/courses/439/locke0417... https://www.logicallyfallacious.com/logicalfallaci... https://theconversation.com/you-look-but-do-not-fi...