การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย (อังกฤษ: Inductive reasoning) เป็นวิธีการให้เหตุผลที่ข้อตั้ง (อังกฤษ: premise) ให้การสนับสนุนหลักฐานบางส่วนที่สื่อถึงความเท็จจริงของข้อสรุป พูดง่าย ๆ คือ การให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลที่เกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ นี่ต่างจากการให้เหตุผลแบบนิรนัยซึ่งตรงกันข้ามกัน ในขณะที่ข้อสรุปจากการให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้นจะแน่นอน ความเท็จจริงของข้อสรุปจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยจะมีความน่าจะเป็นตามหลักฐานที่ได้มา[1] การให้เหตุผลแบบนี้อาจเรียกได้อีกอย่างว่าการให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (อังกฤษ: bottom-up logic) ข้อสรุปจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยนัยมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้นจึงไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐาน และข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่จำนวนข้อมูลและข้อมูลพจนานุกรมหลายเล่มนิยามการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการหาหลักการทั่วไปด้วยการสังเกต แต่ว่ามีการให้เหตุผลแบบอุปนัยหลายอันที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบนั้น[2]

ใกล้เคียง

การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม การให้เหตุผลแบบจารนัย การให้วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ การให้วัคซีน การให้เหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ การให้เหตุผลเป็นวง การให้แสงเงา

แหล่งที่มา

WikiPedia: การให้เหตุผลแบบอุปนัย http://www.dartmouth.edu/~bio125/logic.Giere.pdf http://plato.stanford.edu/entries/induction-proble... http://plato.stanford.edu/entries/kant-reason/#The... http://www.iep.utm.edu/ded-ind/ http://www.iep.utm.edu/found-ep http://www.cs.hut.fi/Opinnot/T-93.850/2005/Papers/... //doi.org/10.1080%2F03081079008935108 //www.worldcat.org/oclc/21216829 https://books.google.com/?id=MmVwBgAAQBAJ&pg=PA26&... https://books.google.com/books?id=1VsYOwRsOVUC&pg=...