แนวคิดที่เกี่ยวข้อง ของ การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้

contraposition

contraposition เป็นกฎการอนุมานที่สมเหตุสมผลทางตรรกะ ซึ่งสามารถใช้สร้างประพจน์ใหม่จากการนิเสธและการเปลี่ยนลำดับประพจน์ที่มีอยู่ ซึ่งใช้ได้กับประพจน์ทุกอย่างในรูปแบบ "ถ้า ก จึง ข" โดยนิเสธตัวแปรทุกอย่าง กลับลำดับจากหน้าไปหลัง แล้วได้ประพจน์ใหม่คือ"ถ้า ไม่ใช่-ข จึง ไม่ใช่-ก" ซึ่งเป็นจริงเท่ากับประพจน์เดิม โดยที่ประพจน์แรกแสดงนัยว่ามีประพจน์ที่สอง และประพจน์ที่สองก็แสดงนัยว่ามีประพจน์แรก

ผลว่าง

ผลว่าง (null result) มักใช้ทางวิทยาศาสตร์ว่าเป็น "หลักฐานว่าไม่มี"เช่นการเสาะหาน้ำบนพื้นดินอาจได้ผลว่าง (คือพื้นแห้ง)ดังนั้น ฝนจึงไม่น่าจะตกเร็ว ๆ นี้

ใกล้เคียง

การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม การให้เหตุผลแบบจารนัย การให้วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ การให้วัคซีน การให้เหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ การให้เหตุผลเป็นวง การให้แสงเงา

แหล่งที่มา

WikiPedia: การให้เหตุผลโดยอาศัยความไม่รู้ https://books.google.com/books?id=I7a7BQAAQBAJ&pg=... https://books.google.com/books?id=7JGkCw43fw8C http://philosophy.lander.edu/logic/ignorance.html https://web.archive.org/web/20090430170946/http://... https://web.archive.org/web/20210615144706/https:/... https://www.worldcat.org/oclc/30624864 https://www.worldcat.org/oclc/862726425 http://www3.nd.edu/~afreddos/courses/439/locke0417... https://www.logicallyfallacious.com/logicalfallaci... https://theconversation.com/you-look-but-do-not-fi...