ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต
ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต

ความแตกแยกระหว่างจีน-โซเวียต (อังกฤษ: Sino-Soviet split, รัสเซีย: Советско-китайский раскол, จีน: 中苏交恶) (1960-1989) เป็นความเสื่อมของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) และสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (USSR) ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความแตกต่างจากการตีความแตกต่างกันของลัทธิมากซ์-เลนินซึ่งเป็นอิทธิพลในการปกครองของจีนและโซเวียต[1]โดยทางสหภาพโซเวียต ได้มีผู้นำคนใหม่คือนีกีตา ครุชชอฟ ซึ่งมีนโยบายที่จะกำจัดความคิดแบบสตาลิน โดยการประณามขุดคุ้ยความโหดร้ายของสตาลินในการพูดที่รู้จักในชื่อ "สุนทรพจน์ลับ" และมีความคิดที่จะอยู่ร่วมกันกับกลุ่มชาติตะวันตก ทางด้านจีน เหมา เจ๋อตง ซึ่งยังมีความคิดแบบเดียวกับลัทธิมากซ์-เลนินแบบสตาลิน โดยเฉพาะระบบนารวมและการเผชิญหน้ากับชาติตะวันตก (การปฏิวัติโลก)[1]

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต

รัสเซีย Советско–китайский раскол
โรมัน Sovetsko–kitayskiy raskol
- พินอิน Zhōngsū jiāoè
จีนตัวเต็ม 中蘇交惡
การถอดถ่ายตัวอักษรจีนกลาง- พินอิน
การถอดถ่ายตัวอักษร
จีนกลาง
- พินอินZhōngsū jiāoè
จีนตัวย่อ 中苏交恶

ใกล้เคียง

ความแพร่หลายของภาษาสเปน ความแตกแยกระหว่างตีโต-สตาลิน ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต ความแม่นยำเท็จ ความแปรปรวนร่วมเกี่ยว ความแข็งของธาตุ (หน้าข้อมูล) ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ความแป้น ความแข็งแกร่งของรหัสผ่าน ความแผ่รังสี