ผลกระทบทางสรีระวิทยา ของ คาร์นิทีน

ผลต่อมวลกระดูก

เมื่อมนุษย์เริ่มแก่ตัวลง ความเข้มข้นของคาร์นิทีนจะลดลง ซึ่งมีผลต่อการเผาผลาญกรดไขมันในเนื้อเยื่อต่างๆ โดยเฉพาะจะเกิดผลกระทบต่อกระดูก จึงจำเป็นที่จะต้องมีการสร้างใหม่อย่างต่อเนื่อง และเซลล์สร้างกระดูกจะทำหน้าที่เผาผลาญเพื่อซ่อมแซมมวลกระดูก ทั้งนี้ การเปลี่ยนระดับพลาสมาของเซลล์สร้างกระดูกกับการทำงานของเซลล์สร้างกระดูกมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก โดยการลดระดับพลาสมาในเซลล์สร้างกระดูกจะเป็นตัวชี้วัดในการทำงานของเซลล์สร้างกระดูก[6] ซึ่งปรากฏในโรคกระดูกพรุนของผู้สูงอายุและวัยหมดประจำเดือนในผู้หญิง ซึ่งในการทดลอง การใช้คาร์นิทีนผสม หรือ propionyl-L-carnitine นั้น สามารถเพิ่มความเข้มข้นของ serum osteocalcin ในสัตว์ที่ทดลอง แต่ทว่าระดับ serum osteocalcin มีแนวโน้มทำให้อายุของสัตว์ที่ทดลองนั้นสั้นลงด้วย[7]

ผลการต้านอนุมูลอิสระ

คาร์นิทีนก่อให้เกิดสารต่อต้านสารอนุมูลอิสระที่สำคัญ โดยป้องกันต่อต้าน lipid peroxidation ของเยื่อหุ้มเซลล์ phospholipid และต่อต้านภาวะเครียดออกซิเดชันที่จะเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อหัวใจและระดับเซลล์เยื่อบุ[8]

ใกล้เคียง

แหล่งที่มา

WikiPedia: คาร์นิทีน http://www.gazette.gc.ca/rp-pr/p2/2011/2011-12-07/... http://www.chemspider.com/Chemical-Structure.282.h... http://emedicine.medscape.com/article/819315-treat... http://www.pdrhealth.com/drug_info/nmdrugprofiles/... http://www.xn--42c5alg0bdjspbeb1f6cyar16a.com/ http://lpi.oregonstate.edu/infocenter/othernuts/ca... http://www.umm.edu/altmed/ConsSupplements/Carnitin... http://www.umm.edu/altmed/articles/carnitine-l-000... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2375434 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3060373